Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร https://thaidj.org/index.php/kmj <p><strong>วารสารกระบี่เวชสาร </strong>เป็นวารสารวิชาการของโรงพยาบาลกระบี่ ซึ่งมีกำหนดการตีพิมพ์วารสาร ปีละ 2 ฉบับ คือ (เมษายน และ ตุลาคม) เพื่อเผยแพร่ความรู้ผลงานวิชาการทางการแพทย์และสาธารณสุข และเพื่อเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ผลงานวิชาการของ แพทย์ พยาบาล นักวิชาการ รวมถึงบุคลากรทางด้านสาธารณสุข และบุคลากรทั่วไป ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาลกระบี่ และเป็นการส่งเสริมให้มีเวทีในการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการที่จะเป็นประโยชน์ต่อวงการแพทย์และสาธารณสุข</p> <p> วารสารฯ ยินดีรับเรื่องทางวิชาการและสารคดีเกี่ยวกับแพทย์และสาธารณสุข ผู้ประสงค์จะส่งต้นฉบับเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร ควรเตรียมต้นฉบับตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการลงพิมพ์ ซึ่งคำแนะนำนี้เป็นคำแนะนำที่ใช้กับวารสารทางการแพทย์ที่มีมาตรฐานสากล รวมทั้งการจัดเขียนเอกสารอ้างอิง ที่เป็นประโยชน์สำหรับการเตรียมบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารที่มีชื่อเสียงอื่นๆ ด้วย</p> en-US Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2539-6897 <p>บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารกระบี่เวชสาร</p><p>ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับ<strong>วารสารกระบี่เวชสาร</strong> และบุคลากรอื่นๆในโรงพยาบาล แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว</p> Perinatal Transmission https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8239 <p>ในแต่ละปีทั่วโลก มีทารกจ ธีรศักดิ์ อุดมศรี Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 บทบรรณาธิการ https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8231 - ศุภมาส พันธ์เชย Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 เศรษฐกิจพอเพียงในการสาธารณสุข https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8240 - ศุภมาส พันธ์เชย Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 Incarcerated transmesenteric hernia following appendectomy in Pediatric patient: case report https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8238 <p>Transmesenteric hernia is a rare cause of bowel obstruction. It can be strangulation and sepsis<br />following obstruction and delay diagnosis. There are so many causes of transmesenteric hernia, more<br />commonly described in postoperative patients, blunt abdominal trauma, inflammatory disease and<br />less likely congenital.<br />We present a case of transmesenteric hernia with incarcerated and strangulation of small bowel<br />in 11-year old girl. She had previous surgery from appendicitis 1 month ago. This admission she had treat<br />as severe gastritis and supportive treatment for 1 night and her symptom get worse and become early sign<br />of sepsis. Investigation show she had transmesenteric hernia with bowel strangulation. Emergency laparotomy<br />was performed. We found small bowel ischemia from herniation through ileum mesentery from adhesion<br />of ileum to abdominal wall. We resection ischemia segment of ileum and anastomosis and lysis adhesion<br />to prevent another attack of gut obstruction.</p> Kamolrat Jintanavirat Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยผ่าตัดต่อมทอนซิลโรงพยาบาลกระบี่ (Factors of Complications after tonsillectomy in Krabi Hospital) https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8232 <p>ภาวะเลอื ดออกหลงั ผา่ ตดั ทอนซิลเปน็ ภาวะแทรกซอ้ นส ธรนิศ ลิมปกรณ์กุล Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการป้องกัน การหักซ้ำของผู้ป่วยกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึงภายใน โรงพยาบาลกระบี่ (The Effect of Self- Efficacy Promotion Program to Re-fracture Behavior in Patients with Femoral Fractures Receiving Internal Fixation in Krabi Hospital) https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8237 <p>การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม<br />การสง่ เสรมิ การรบั รสู้ มรรถนะแหง่ ตน ตอ่ พฤตกิ รรมการปอ้ งกนั การหกั ซ้ำ ของผปู้ ว่ ยกระดกู ตน้ ขาหกั ทีไ่ ดร้ บั การผา่ ตดั ใสโ่ ลหะยดึ ตรงึ<br />กระดูกภายใน ในโรงพยาบาลกระบี่ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุกระดูกต้นขาหักที่ได้รับการผ่าตัดใส่โลหะยึดตรึง<br />กระดูกภายใน อายุ 18-59 ปี ที่เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลกระบี่ ระหว่าง 6 ธันวาคม 2559-ธันวาคม 2560 เลือกกลุ่มตัวอย่าง<br />แบบเฉพาะเจาะจง จ ชญานันทน์ ช่วยบุดดา Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 ศักยภาพด้านการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของทีมเฝ้าระวังสอบสวน เคลื่อนที่เร็วอำเภอเมืองกระบี่: กรณีศึกษาอำเภอเมืองกระบี่ (Competency in DHF Control of Muang Krabi Surveillance and Rapid Response Team (SRRT): a Case Study of Muang Krabi) https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8233 <p>การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับศักยภาพในการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก<br />ของทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วอ พิพัฒน์ พุทธโร Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในโรคบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ในโรงพยาบาลของรัฐ จังหวัดกระบี่ (The Situation of Antibiotics Smart Use of Fresh Traumatic Wounds at Public Hospital in Krabi Province) https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8234 <p>การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสมเหตุผลในการใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยโรค<br />บาดแผลสดจากอุบัติเหตุในโรงพยาบาลรัฐ จังหวัดกระบี่ ใช้วิธีการศึกษาเชิงพรรณนา แบบเก็บข้อมูลย้อนหลัง สถานที่ทำการศึกษาคือ โรงพยาบาลในจังหวัดกระบี่จำนวน 7 แห่ง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่ได้รับยาปฏิชีวนะระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2560<br />– 30 มิถุนายน 2561 โดยผู้ป่วยที่คัดออกจากการวิจัยคือผู้ป่วยที่ผู้วิจัยไม่สามารถหาประวัติผู้ป่วยได้หรือประวัติการรักษาไม่<br />สมบูรณ์ และผู้ป่วยที่มารับการรักษาหลัง 6 ชั่วโมง<br />ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยโรคแผลสดจากอุบัติเหตุ ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ จำนวน 6,530 คน เข้านิยามโรคบาดแผลสด<br />จากอุบัติเหตุ 3,802 คน (ร้อยละ 58.22) ในจำนวนนี้ พบว่า ผู้ป่วยกลุ่มที่ได้รับยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล มีจำนวน 879 คน<br />(ร้อยละ 23.12 กลุ่มที่ได้รับยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล จำนวน 2,923 คน ร้อยละ 76.88)<br />ผู้วิจัยได้นำผลการวิจัยแจ้งแก่หน่วยงานของที่เข้าร่วมการวิจัย เพื่อปรับความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการรักษา<br />โรคบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ การลงข้อมูลผู้ป่วย การลงข้อมูล ICD10 ที่ถูกต้อง การจัดท ศิริรัตน์ ไสไทย Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 การพัฒนาการจัดการมูลฝอยในโรงพยาบาลกระบี่ (Develop Management of garbage in Krabi Hospital) https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8235 <p>การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหาของระบบการจัดการมูลฝอยในโรงพยาบาลกระบี่<br />หาแนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดการมูลฝอยที่เหมาะสม และพัฒนาการจัดการมูลฝอยและการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่<br />ทุกคนในโรงพยาบาล ซึ่งสภาพปัญหาได้มาจากแบบสอบถามบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาความรู้การจัดตั้งธนาคารขยะ<br />จำนวน 100 คน พบว่าบุคลากรยังไม่สามารถแยกประเภทมูลฝอยเปียกและมูลฝอยแห้งได้ และสาเหตุที่ไม่ได้แยกประเภทมูลฝอย<br />ก่อนทิ้ง มาจากภาชนะรองรับมูลฝอยไม่ได้มีไว้เพื่อแยกประเภท ความคิดเห็นเพื่อหาแนวทางในการจัดการมูลฝอยร่วมกัน พบว่า<br />ควรจัดให้มีถังแยกประเภทมูลฝอย การนำมูลฝอยมาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่/หรือกลับมาใช้ใหม่ ลดการสร้างมูลฝอย แยกมูลฝอย<br />อินทรีย์เพื่อนำไปทำปุ๋ยชีวภาพ และควรจัดให้มีธนาคารขยะ รับซื้อมูลฝอยรีไซเคิล ซึ่งความคิดเห็นข้างต้นสอดคล้องกับ<br />หลักแนวคิด 3 R. ทางโรงพยาบาลกระบี่จึงพัฒนาแนวทางการจัดการมูลฝอยในโรงพยาบาลโดยน สุกัญญา ไชยสุวรรณ Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 การพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงทั่วไป (Develop general management system of Krabi hospital) https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8236 <p>การบริหารความเสี่ยง เป็นหนึ่งระบบงานสำคัญของโรงพยาบาลที่จะนำไปสู่การรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน HA<br />ซึ่งโรงพยาบาลกระบี่มีการพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง การบริหารความเสี่ยงทั่วไปเป็นกิจกรรมหนึ่งในการบริหาร<br />ความเสี่ยงและเกี่ยวข้องกับบุคลากรจำนวนมาก โดยโรงพยาบาลได้กำหนดให้ความเสี่ยงทั่วไป เช่น ความเสี่ยงทางเวชระเบียน/<br />เอกสาร เครื่องมือ/ วัสดุการแพทย์ อาหาร ความเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อม/สิ่งอำนวยความสะดวก ทรัพย์สินสูญหาย เจ้าหน้าที่ได้รับ<br />ความบาดเจ็บจากการทำงาน ข้อร้องเรียนด้านพฤติกรรมบริการ สิทธิผู้ป่วย เป็นต้น เป็นความเสี่ยงที่ต้องรายงานและ<br />เข้าสู่กระบวนการบริหารจัดการที่ส สุกัญญา ไชยสุวรรณ Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2 คำแนะนำสำหรับผู้เขียน https://thaidj.org/index.php/kmj/article/view/8241 - กันตินันท์ เพียสุพรรณ Copyright (c) 2019 Krabi medical journal - กระบี่เวชสาร 2019-11-26 2019-11-26 2 2