Srinagarind Medical Journal-ศรีนครินทร์เวชสาร https://thaidj.org/index.php/smnj ศรีนครินทร์เวชสาร ศรีนครินทร์เวชสาร en-US Srinagarind Medical Journal-ศรีนครินทร์เวชสาร 2821-9724 สถานการณ์ของภาวะแพ้โปรตีนลาเท็กซ์ในถุงมือยางทางการแพทย์ของบุคลากรสุขภาพ และแนวทางป้องกันในปัจจุบัน https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13844 <p><strong>Current Situation of Allergy to Latex Protein in Medical Gloves and Preventive Measures among Health Personnel</strong></p> <p>Chatpong Ngamchokwathana, Naesinee Chaiear<br>Division of Community, Family, and Occupational Medicine, Faculty of Medicine, Khon Kaen University</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>Since the 1980s, latex allergy has been a common occupational health problem for health personnel. While some western countries have successfully reduced the prevalence of latex allergy among health personnel from 8.3 – 17% to 2.9 – 5.9% after banning the usage of powdered latex gloves (the major source of latex allergen), latex allergy problem still presented in some developing countries. This review article aimed to identify the current situation and preventive measures to reduce the prevalence of latex allergy among health personnel, particularly in developing countries. The study found that the prevalence of latex allergy in some Asian countries, where powdered latex glove policies were not fully implemented, was slightly similar to those of Western countries after implementing the policy at 2 – 6.8%, suggesting a possible genetic component. Alongside glove replacement, in the later years, other preventive strategies could be implemented to reduce latex allergy cases among health personnel. These strategies include improving technology in the production process to reduce latex allergens in gloves at the industrial level, implementing educational programs to increase awareness and screening and surveillance systems to identify health personnel who may be at higher risk for developing latex allergy, and case management for workers with latex allergy. These measures may be more appropriate for developing countries where the implementation of a ban may not be feasible.</p> <p><strong>Keyword</strong>: latex allergy, gloves allergy, occupational health, health workers, hospital</p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1980 ภาวะแพ้โปรตีนลาเท็กซ์เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในบุคลากรสุขภาพ ในขณะที่กลุ่มชาติตะวันตกประสบความสำเร็จในการลดความชุกของบุคลากรสุขภาพที่มีภาวะแพ้จากร้อยละ 8.3 - 17 เหลือเพียงร้อยละ 2.9 – 5.9 ภายหลังการดำเนินนโยบายห้ามการใช้ถุงมือลาเท็กซ์ชนิดมีแป้งที่ก่อให้เกิดภาวะแพ้ได้ง่าย แต่ภาวะดังกล่าวยังคงเป็นปัญหาในประเทศกำลังพัฒนาบางแห่ง บทฟื้นฟูวิชาการนี้มีเป้าหมายที่จะรวบรวมสถานการณ์ของภาวะแพ้ในบุคลากรสุขภาพรวมถึงแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับประเทศกำลังพัฒนา ทั้งนี้จากการทบทวนพบว่า ความชุกของบุคลากรสุขภาพที่มีภาวะแพ้ในกลุ่มประเทศเอเชียที่ยังไม่มีนโยบายห้ามอย่างชัดเจนอยู่ที่ร้อยละ 2 – 6.8 ซึ่งใกล้เคียงกับกลุ่มชาติตะวันตกภายหลังดำเนินนโยบายห้าม แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยด้านพันธุกรรมก็มีผลต่อภาวะแพ้ได้เช่นกัน นอกจากนี้ การศึกษาในปัจจุบันยังพบว่า นอกเหนือจากนโยบายดังกล่าว การดำเนินมาตรการในระดับภาคอุตสาหกรรม เช่น การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพื่อลดระดับโปรตีนในถุงมือ จนถึงระดับสถานพยาบาล เช่น ระบบเฝ้าระวังการแพ้ รวมถึงระบบบริหารจัดการรายบุคคล ล้วนเป็นกลไกที่มีส่วนช่วยให้ความชุกของภาวะแพ้ลดลงได้เช่นเดียวกัน ซึ่งอาจเป็นแนวทางที่เหมาะสมกว่าในประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งการห้ามการใช้ถุงมือยางลาเท็กซ์ทั้งหมดไม่อาจดำเนินการได้โดยสมบูรณ์</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong>: ภาวะแพ้โปรตีนลาเท็กซ์, ภาวะแพ้ถุงมือ, อาชีวอนามัย, บุคลากรสุขภาพ, โรงพยาบาล</p> ฉัตรพงศ์ งามโชควัฒนา เนสินี ไชยเอีย Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 187 196 การตอบสนองต่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจบกพร่อง: ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลและการดูแลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13845 <p><strong>Dysfunctional Ventilatory Weaning Response: Nursing Diagnosis and Evidence-based Care Plan for Patients Undergoing Open Heart Surgery</strong></p> <p>Kiattiwan Kansaard<sup>1*2</sup>, Wasana Ruaisungnoen<sup>1</sup>, Sanpicha Sornpirom<sup>2</sup></p> <p><sup>1</sup> Adult Nursing Department, Faculty of Nursing, Khon Kaen University</p> <p><sup>2</sup>Nursing Service Division, Faculty of Medicine Khon Kaen University</p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผู้ป่วยโรคหัวใจที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดส่วนใหญ่ได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจหลังกลับจากห้องผ่าตัดและเข้ารับการรักษาในหออภิบาลผู้ป่วยศัลยกรรมหัวใจและทรวงอก การเฝ้าระวังติดตามอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ภาวะการตอบสนองต่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจบกพร่อง (dysfunctional ventilatory weaning response; DVWR) อย่างใกล้ชิดเป็นสิ่งสำคัญ การดูแลตามหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อป้องกัน DVWRและส่งเสริมความพร้อมต่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจจะช่วยลดภาวะแทรกซ้อนจากการใส่ท่อช่วยหายใจนานหรือการใส่ท่อช่วยหายใจซ้ำภายใน 48 ชั่วโมง บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอรายละเอียดของปัญหา DVWR อาการและอาการแสดง รวมทั้งปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด นอกจากนี้ บทความนำเสนอการดูแลตามหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อป้องกันปัญหา DVWR ใน 3 ระยะ ได้แก่ ระยะก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ ระยะหย่าเครื่องช่วยหายใจ และระยะถอดท่อช่วยหายใจ รวมทั้งการนำไปใช้ในตัวอย่างกรณีศึกษาผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด 2 ราย</p> <p><strong>คำสำคัญ:</strong> การหย่าเครื่องช่วยหายใจ; ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด; การตอบสนองต่อการหย่าเครื่องช่วยหายใจบกพร่อง; การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The majority of patients having open heart surgery were transferred to the cardiovascular-thoracic intensive care unit while having a mechanical ventilation. As a result, closed monitoring is required to identify the early warning signs and symptoms of dysfunctional ventilatory weaning response (DVWR). To minimize complications caused by prolonged intubation or 48-hour re-intubation, evidence-based nursing care is useful in preventing DVWR and promoting readiness for extubation. The purpose of this article is to describe DVWR, its symptoms and signs, and associated factors in patients who underwent open heart surgery. Additionally, the evidence-based care to prevent DVWR during pre-extubation, extubation, and post-extubation periods with implications in two open-heart case examples are included.</p> <p><strong>Key words:</strong> ventilator weaning; open heart surgery; dysfunctional ventilatory weaning response; evidence-based nursing</p> เกียรติวรรณ การสะอาด วาสนา รวยสูงเนิน สัญพิชา ศรภิรมย์ Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 197 202 สาร Naringin ปรับปรุงการทำงานของหลอดเลือดในหนูแรทความดันโลหิตสูง https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13833 <p><strong>Naringin Improves Vascular Function in Hypertensive Rats</strong></p> <p>Nutnicha Rachiwong, Chompilat Mowong, Weerapon Sangartit, Putcharawipa Maneesai, Poungrat Pakdeechote<sup>*</sup></p> <p>Department of Physiology, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand</p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong><strong><u>:</u></strong> Naringin เป็นสารฟลาโวนอยด์ มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและการอักเสบ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบ Naringin มีผลต่อการตอบสนองต่อระบบประสาทซิมพาเทติกในหนูแรทความดันโลหิตสูง</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา:</u></strong> หนูแรทเพศผู้ได้รับแอลเนม 40 มก./กก./วัน และป้อนสาร Naringin 40 มก./กก./วัน เป็นเวลา 5 สัปดาห์ ส่วนหนูกลุ่มควบคุมได้รับน้ำดื่ม วัดความดันโลหิตและการทำงานของหลอดเลือด</p> <p><strong><u>ผลการศึกษา</u></strong><strong><u>:</u></strong> หนูที่ได้รับแอลเนมมีความดันโลหิตสูงกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (155.95 ± 2.55 vs. 100.80 ± 1.75 มิลลิเมตรปรอท p&lt;0.05) Naringin ป้องกันความดันโลหิตสูงที่เหนี่ยวนำโดยแอลเนม (101.87 ± 3.52 มิลลิเมตรปรอท p&lt;0.05) การหดตัวต่อการกระตุ้นด้วยไฟฟ้าเพิ่มขึ้นในกลุ่มที่ได้แอลเนม (p&lt;0.05) และถูกกดในกลุ่มที่ได้ Naringin (p&lt;0.05) การหดตัวต่อนอร์อิพิเนฟรินไม่ต่างกัน Naringin เพิ่มการตอบสนองของหลอดเลือดต่ออะซิติลโคลีน (p&lt;0.05) ผลของ Naringin ต่อการทำงานของหลอดเลือดเหล่านี้สัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของไนตริกออกไซด์ (p&lt;0.05)</p> <p><strong><u>สรุป</u></strong><strong><u>:</u></strong> Naringin ป้องกันความดันโลหิตสูงเหนี่ยวนำจากสารแอลเนม ที่เป็นผลมาจากการปรับปรุงการทำงานของหลอดเลือดผ่านการเพิ่มขึ้นของไนตริกออกไซด์ในหนูแรทความดันโลหิตสูงที่เหนี่ยวนำจากสารแอลเนม</p> <p><strong><u>Background and Objective</u></strong><strong>:</strong> Naringin is a flavonoid. The beneficial effects of naringin have been reported including anti-oxidation and anti-inflammation. This study investigated whether naringin could reduce sympathetic nerve-mediated contractile responses in hypertensive rats.</p> <p><strong><u>Methods:</u></strong> Male Sprague-Dawley rats were treated with L-NAME 40 mg/kg/day and orally administered with naringin 40 mg/kg/day for five weeks while control rats received distilled water. Blood pressure and vascular function were measured.</p> <p><strong><u>Result:</u></strong> Rats received L-NAME had higher blood pressure (155.95 ± 2.55 vs. 100.80 ± 1.75 mmHg) compared to those of control group (p&lt;0.05). Naringin prevents the development of hypertension induced by L-NAME (101.87 ± 3.52 mmHg, p&lt;0.05). Contractile responses to electrical field stimulation (EFS) in mesenteric vascular beds was enhanced in L-NAME group (p&lt;0.05) and these were suppressed in the naringin treated group (p&lt;0.05). The contractile responses to exogenous norepinephrine was not different between groups. Naringin also improved the vasorelaxation responses to acetylcholine (ACh) (p&lt;0.05). These vascular effects of naringin were consistent with raising nitric oxide levels in hypertensive rats (p&lt;0.05).</p> <p><strong><u>Conclusion:</u></strong> Naringin prevented the development of hypertension induced by L-NAME. These preventive effects were associated with improvement of vascular function through increasing Nitric oxide metabolites in L-NAME-induced hypertension.</p> ณัฐณิชา ราชิวงศ์ โฉมพิลาศ โม้วงษ์ วีระพล แสงอาทิตย์ พัชรวิภา มณีไสย พวงรัตน์ ภักดิโชติ Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 113 119 การพัฒนาระบบการรายงานผลโดยอัตโนมัติ ในการตรวจวิเคราะห์ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13834 <p><strong>Development of Autoverification System for </strong><strong>Complete Blood Count (CBC) Analysis</strong></p> <p>Piyawan&nbsp; Kumsaen<sup>*</sup>, Anuchin Najermploy, Rujanan Kachenchat</p> <p>Diagnostic microscopic laboratory, Srinagarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University</p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์ :</u></strong> การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (complete blood count; CBC) เป็นรายการตรวจวิเคราะห์พื้นฐานที่มีการสั่งตรวจเป็นปริมาณมากในห้องปฏิบัติการ การที่มีปริมาณสั่งตรวจของผู้ป่วยปริมาณมาก และมีกระบวนการปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ส่งผลให้บุคลากรเกิดภาวะเครียดและยังส่งผลให้ระยะเวลารอคอยผลการตรวจยาวนาน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ จัดตั้งระบบการรายงานผลโดยอัตโนมัติ (autoverification; AV) เพื่อลดระยะเวลารอคอยผล และเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา:</u></strong> ทำการศึกษาที่หน่วยจุลทรรศน์วินิจฉัย โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยกำหนดกฎในการคัดเลือกเพื่อเข้าสู่ระบบ AV จากนั้นตรวจสอบความถูกต้องด้วยการเปรียบเทียบผลการตรวจ slide blood smear 200 ราย &nbsp;วิเคราะห์ระยะเวลารอคอยผลการตรวจ CBC ทั้งก่อนและหลังการใช้งานระบบ AV</p> <p><strong><u>ผลการศึกษา:</u></strong> พบ false negative ร้อยละ 0.5, 2.5 และ 1.0 &nbsp;ในกลุ่ม parameter WBC , RBC และ platelet ตามลำดับ อัตราการรายงานผล CBC โดยระบบ AV หลังจากใช้งาน 3 เดือนโดยเฉลี่ยร้อยละ 42.8 ของจำนวนการส่งตรวจ CBC ทั้งหมด ระยะเวลารอคอยผลการตรวจ CBC ลดลงจาก 43.7 นาที เหลือ 34.2 นาที ในกลุ่ม routine case และ ลดลงจาก 37.0 &nbsp;เหลือ 33.3 นาที ในกลุ่ม emergency case</p> <p><strong><u>สรุป</u></strong><strong><u>:</u></strong><strong>&nbsp; </strong>การจัดตั้งระบบ AV สามารถลดระยะเวลารอคอยผลการตรวจ เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยในแต่ละห้องปฏิบัติการควรมีการกำหนดเกณฑ์ให้เหมาะสม ในอนาคตจะมีการพัฒนาระบบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง&nbsp; หากมีเทคโนโลยีต่างๆ ที่ทันสมัย หรือองค์ความรู้ต่างๆ ที่เพิ่มมากขึ้น</p> <p><strong><u>Background and Objective</u></strong><u>:</u> The complete blood count (CBC) is the most common test in the laboratory. A lot of patients and many steps in the process lead to more staff stress and turnaround time (TAT). This study aimed to set and investigate the parameters of an autoverification (AV) system to improve the efficiency and reduce TAT.</p> <p><strong><u>Method:</u></strong> This study was conducted at diagnostic microscopic laboratory, Srinagarind Hospital, Faculty of Medicine, Khon Kaen University. Set up the AV rules. Evaluate the resulting of AV rules by comparing the AV results&nbsp; to the 200 manually slide blood smear tests. Compare TAT at before and after AV implementation.</p> <p><strong><u>Results:</u></strong> False negative was 0.5 %, 2.5 %, 1.0 % for parameter WBC, RBC and platelet, respectively<strong>. </strong>After the implementation AV passing rate was 42.8 %, the means TAT was decreased from 43.7 to 34.2 min in routine case and from 37.0 to 33.3 min in emergency case.</p> <p><strong><u>Conclusion:</u></strong> The AV system can not only reduce the TAT but also increase the lab working efficiency by applying the appropriate rules. In the future, the system efficiency could be continuously improved by a new knowledge and high technology.</p> ปิยวรรณ คำแสน อนุชิน นาเจิมพลอย รุจนันท์ คะเชนทร์ชาติ Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 120 129 ความสัมพันธ์ของความทุกข์ยากของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม ต่อสภาพสมอง และอาการทางจิตประสาทของผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช: การศึกษาวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13835 <h3><strong>Relationship of Dementia’s </strong><strong>Caregiver Distress </strong><strong>to the Mental State Examination and </strong><strong>Neuropsychiatric Symptoms of Dementia Patients </strong><strong>Somdejphrajaotaksinmaharaj Hospital: A</strong><strong> Cross-Sectional Analytic Study</strong></h3> <p>Parintat&nbsp; Netsuwan</p> <p>Addiction and Psychiatric Department Somdejprajoataksinmaharaj Hospital</p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong><strong><u>:</u></strong> การดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมทำให้ผู้ดูแลมีความทุกข์ยาก (distress) ทั้งด้านสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การเข้าสังคม การศึกษานี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความทุกข์ยากของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม ต่อสภาพสมอง (Thai Mental State Examination: TMSE) และอาการจิตประสาท (Neuro-Psychiatric Inventory: NPI) ของผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา</u></strong><strong><u>:</u></strong> เป็นการศึกษาแบบ cross-sectional analytical study ในกลุ่มตัวอย่างผู้ดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม และผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมที่รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกในแผนกจิตเวช รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จำนวน 73 คู่ โดยเก็บข้อมูลจากการสำรวจของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมได้แก่ เพศ อายุ ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย ระยะเวลาในการดูแลผู้ป่วย อาการจิตประสาทของผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม (NPI) ความทุกข์ยากของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม (Neuro-Psychiatric Inventory Distress score: NPID) และเก็บข้อมูลจากผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม ได้แก่ เพศ อายุ ชนิดของสมองเสื่อมที่รับการวินิจฉัย ระยะเวลาเป็นโรคสมองเสื่อม สภาพสมองของผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม (TMSE) และ มาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยใช้ multiple logistic regression</p> <p><strong><u>ผลการศึกษา</u></strong><strong><u>:</u></strong> ผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมที่มีสภาพสมอง (TMSE) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 คะแนน มีค่า OR=5.04 &nbsp;(95% CI 1.4-17.5) และผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมที่มีอาการจิตประสาท (NPI) มากกว่า 11 คะแนน มีค่า OR=9.44 &nbsp;(95% CI 1.86-47.82) มีความสัมพันธ์กับความทุกข์ยากของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม (NPID)</p> <p><strong><u>สรุป</u></strong><strong><u>:</u></strong> สภาพสมองของผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม (TMSE) ที่อาการรุนแรงมากขึ้น และอาการจิตประสาทของผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม (NPI) ที่มากขึ้น มีความสัมพันธ์กับความทุกข์ยากของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> ผู้ดูแล,&nbsp; ความทุกข์ยาก,&nbsp; แบบประเมินอาการจิตประสาทของผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม (NPI)</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><strong><u>Background and Objective:</u></strong> Caring for a dementia patient can become dementia caregiver distress including the caregiver’s mental health, family’s economics, and socialization of caregivers. The objective is to find a relationship between a dementia’s caregiver distress to the Thai mental state examination (TMSE) and the Neuropsychiatric inventory scale (NPI) of dementia patients</p> <p><strong><u>Methods:</u></strong> A cross-sectional analytic study in 73 dyads relationship of dementia caregivers and dementia patients in outpatient Somdejprajoataksinmaharaj Hospital. Collected data by surveying 1.A dementia caregiver about gender, age, patient relation, patient’s care duration, NPI, and Neuropsychiatric Inventory Distress scale (NPID) 2.A dementia patient about gender, age, type of dementia, the onset of dementia, and TMSE were analyzed in relation with multiple logistic regression.</p> <p><strong><u>Results:</u></strong> The TMSE of dementia patients is less than or equal to 16 points has an odd ratio of 5.04 (95% CI 1.4-17.5) and the NPI of dementia patients is more than 11 points has an odd ratio of 9.44 (95% CI 1.86-47.82) both were related to dementia’s caregiver distress.</p> <p><strong><u>Conclusions:</u></strong> Lower TMSE and higher NPI of dementia patients relate to dementia’s caregiver distress.</p> <p><strong>Keywords:</strong> caregiver, distress, neuropsychiatric inventory for dementia (NPI)</p> ปริญทัศน์ เนตรสุวรรณ Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 130 136 การประเมินวิธีการเริ่มสแกน Arterial phase ในการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้องแบบ 3 เฟสในผู้ป่วยมะเร็งตับ https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13836 <p><strong>Evaluation of Scan</strong><strong>-</strong><strong>Initiating</strong> <strong>Techniques of Arterial Phase in CT Triple</strong><strong>-</strong><strong>Phase Liver Scan in Patients with Hepatocellular Carcinomas</strong></p> <p>Nitaya Snitwongse Na Ayudhya</p> <p>Diagnostic Radiology Unit, Department of Radiology, Sunpasitthiprasong Hospital, Ubon Ratchathani</p> <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong><u>:</u> วิธีการเริ่มสแกนช่วงหลอดเลือดแดงหรือ arterial (A) phase ในการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้องแบบ 3 เฟส (CT triple- phase liver) ในผู้ป่วยมะเร็งตับมีความสำคัญ การเริ่มสแกนที่เวลาเหมาะสมจะทำให้เห็นขอบเขตของโรคอย่างชัดเจน การศึกษานี้ทำการประเมินเทคนิคการเริ่มสแกน A phase เปรียบเทียบกันระหว่างเทคนิค Bolus tracking &nbsp;(BT) และ เทคนิค Fixed time delay (FTD)</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา</u></strong><u>:</u> การศึกษาเชิงคุณภาพโดยการสอบถามความคิดเห็นของรังสีแพทย์ในหน่วยงานจำนวน 9 ราย เกี่ยวกับภาพ&nbsp;CT triple- phase liver และการศึกษาย้อนหลังจากฐานข้อมูลภาพทางรังสีเปรียบเทียบภาพ A phase จากเทคนิค BT และเทคนิค FTD ของผู้ป่วยมะเร็งตับกลุ่มละ 100 ราย ภาพรังสีได้จากสแกนด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ 128 slice&nbsp; ให้สารทึบรังสีทางหลอดเลือดดำ 555 มก.ไอโอดีน/กก. &nbsp;อัตราการฉีดสารทึบรังสี 1.8- 2.5 มล/วินาที เทคนิค FTD เริ่มสแกนหลังฉีดสารทึบรังสี 30-45 วินาที วัดค่าตัวเลขซีที (HU) ที่ตำแหน่ง aorta, portal vein และ liver parenchyma แสดงผลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p><strong><u>ผลการศึกษา</u></strong><u>:</u> รังสีแพทย์มีความพึงพอใจในภาพ CT triple- phase liver ในระดับมาก (4/5) แต่ภาพ A phase ยังมีความไม่สม่ำเสมอ ความเข้มของภาพเป็น subtle enhancement และเริ่มสแกนเร็วเกินไป การศึกษาย้อนหลังพบว่า ภาพ A phase ของทั้งสองวิธี ให้ aortic attenuation ที่ไม่ต่างกัน แต่ liver enhancement ของเทคนิค FTD (15.48±9.66 HU) มากกว่า เทคนิค BT (12.11±7.70 HU) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ &nbsp;(t-test, p &lt;0.01) ค่าเฉลี่ยของเวลาเริ่มสแกนของเทคนิค BT เท่ากับ 35.5 ±5.9 (24-51) วินาที ภาพ A phase ของทั้งสองเทคนิคส่วนมากยังต่ำกว่ามาตรฐานโดยที่ liver enhancement 20-30 HU มีเพียงร้อยละ 27 และ 17 ในกลุ่ม FTD และ BT ตามลำดับ</p> <p><strong><u>สรุป</u></strong><strong><u>:</u></strong> <strong>&nbsp;</strong>วิธีการเริ่มสแกน A phase ในการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ช่องท้องแบบ 3 เฟสในผู้ป่วยมะเร็งตับของหน่วยงานที่ทำการศึกษาทั้ง 2 แบบ <strong>&nbsp;</strong>ให้ภาพส่วนใหญ่ที่เป็น suboptimal enhancement ควรได้รับการปรับปรุง</p> <p><strong>คำสำคัญ </strong>&nbsp;CT triple- phase liver, arterial phase, fixed time delay, bolus tracking</p> <p>CT สามเฟส, ระยะหลอดเลือด, การหน่วงเวลาคงที่, การติดตามด้วยยาลูกกลอน</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><strong><u>Background and objectives</u></strong><strong><u>:</u></strong> The methods of initiating arterial (A) phase scans in triple- phase CT of abdomen (liver ) in patients with hepatocellular carcinomas (HCCs) are important. Starting a scan at the right time will clearly reveal the extent of the diseases. This study evaluated the A phase scanning initiation techniques in comparison between bolus tracking (BT) and fixed time delay (FTD) techniques.</p> <p><strong><u>Methods</u></strong><strong><u>:</u></strong> A qualitative study was performed by questionnaires asking opinions of 9 radiologists, with 8 radiologists responded on CT triple- phase liver images quality. And a retrospective study was done to review CT images of A phase scanning by BT and FTD techniques of patients with HCCs on radiographic database, 100 cases per group. The images obtained by 128- slice MDCT scanner, with IV contrast media 555 mg I/kg body weight, contrast injection rate 1.8- 2.5 ml/sec, FTD technique started scanning at 30-45 seconds after contrast media administration. &nbsp;CT number (HU) measurements were done at aorta, portal vein and liver parenchyma, presented value as percent, range and mean (SD).</p> <p><strong><u>Results</u></strong><u>:</u> Radiologists had a high level of satisfaction on the triple phase liver CT images (4/5), but the A phase images were uneven, subtle enhancement, and started scanning too early. The retrospective study showed that A phase images of both methods yielded indifferent aortic attenuation. Liver enhancement of FTD technique (15.48±9.66 HU) was significantly higher than that of BT technique (12.11±7.70 HU), p &lt;0.01 by t-test. The mean scan- initiating time of the BT technique was 35.5 ± 5.9 (24-51) sec. The A phase images of both techniques were mostly under criteria standards, with 20-30 HU liver enhancement being only 27% and 17% among the groups FTD and BT, respectively.</p> <p><strong><u>Conclusion</u></strong><strong><u>: </u></strong>The initiation of the A phase scan in triple- phase CT of the liver in patients with HCCs by both techniques yielded mostly suboptimal enhancement images and should be improved.</p> <p><strong>Keywords</strong><strong>:</strong> triple- phase CT, arterial phase, fixed time delay, bolus tracking</p> นิตยา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 137 144 การพัฒนารูปแบบสนับสนุนครอบครัวสำหรับครอบครัวที่มีวัยรุ่นติดยาและสารเสพติดในชุมชน https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13837 <p><strong>Development of a Family Support Model for Families of Adolescence with Illicit Drug Use in the Community</strong></p> <p>Chakrawal Hanchai</p> <p>Kumpawapi Hospital, &nbsp;Kumphawapi District, Udon Thani Province</p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong><strong><u>:</u></strong> การศึกษาผลของโปรแกรมสนับสนุนครอบครัวสำหรับครอบครัวที่มีวัยรุ่นติดยาและสารเสพติดในชุมชนโรงพยาบาลห้วยเกิ้ง เพื่อมุ่งเน้นที่การสนับสนุนและช่วยเหลือสมาชิกครอบครัวที่เป็นผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติด</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา</u></strong><strong><u>:</u></strong> เปรียบเทียบผลการศึกษาในเรื่อง ภาวะสุขภาพ&nbsp; คุณภาพชีวิต&nbsp; ทัศนคติต่อผู้ใช้สารเสพติด และการทำหน้าที่ของครอบครัว ภายในและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครที่เป็นสมาชิกครอบครัวและเป็นผู้ดูแลผู้สารเสพติด ที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลห้วยเกิ้ง จำนวน 60 ราย กลุ่มตัวอย่างจะถูกสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 ราย การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมมีการวัด 3 ครั้ง คือ ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผลหลังการทดลอง 1 เดือน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมสนับสนุนครอบครัวสำหรับครอบครัวที่มีวัยรุ่นติดยาและสารเสพติดในชุมชนและแบบประเมินประสิทธิภาพของโปรแกรม ประกอบด้วย GHQ-28, WHOQOL-BREF-THAI, FAS, FFS และคำถามเชิงโครงสร้าง เก็บข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ Chi square และ Repeated Measures ANOVA</p> <p><strong><u>ผลการศึกษา</u></strong><strong><u>:</u></strong> จากผลการทดลองเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า ภาวะสุขภาพ (คะแนนค่าเฉลี่ยจาก GHQ-28) คุณภาพชีวิต(คะแนนค่าเฉลี่ยจาก WHOQOL-BREF-THAI) ทัศนคติต่อผู้ใช้สารเสพติด (คะแนนค่าเฉลี่ยจาก FAS) และการทำหน้าที่ของครอบครัว (คะแนนค่าเฉลี่ยจาก FFS) ภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการทดลอง ภายหลังการทดลองและระยะติดตามผล มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ด้วยขนาดอิทธิพล (effect size) เท่ากับ 0.29, 0.29, 0.34,0.30 ตามลำดับ</p> <p><strong><u>สรุป</u></strong><strong><u>:</u></strong> รูปแบบสนับสนุนครอบครัวสำหรับครอบครัวที่มีวัยรุ่นติดยาและสารเสพติดในชุมชนมีความเหมาะสม เพื่อช่วยเหลือสมาชิกครอบครัวที่เป็นผู้ดูแลผู้ติดสารเสพติด</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> รูปแบบสนับสนุนครอบครัว,&nbsp; ครอบครัว,&nbsp; วัยรุ่น,&nbsp; ยาและสารเสพติด</p> <p>&nbsp;</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><strong><u>Background and Objectives:</u></strong> The effects of a family support program on family members of illicit drug users (IDUs) in terms of family members’ health status, quality of life, attitude towards IDUs and family functioning.</p> <p><strong><u>Methods:</u></strong> Study participants were 60 family members of IDUs receiving treatment at Huaikoeng Udonthani Hospital.&nbsp; IDUs family members were randomly assigned to either the experimental or comparison group to form a group of 30 participants. Participants engaged into the treatment condition received intervention, whereas people in control trial were treated as usual, using standard care. Participants were assessed at 3 times; baseline, post intervention, and 1 month after intervention completion. Instruments of this study included The M-TFS, GHQ-28 questionnaires, WHOQOL-BREF-THAI, FAS, and FFS. Semi-structure interview was also used. Data analyses were undertaken to obtain frequencies, percentages, means and standard deviations. Chi-square statistics and repeated measures ANOVA were performed for hypotheses testing.</p> <p><strong><u>Results:</u></strong> In comparison between the experimental and comarican goups the results showed that 1) mean health status score (CHQ-28) 2) mean quality of life score (WHOGOL-BREF-THAI) 3) mean attitude towords IDU. Score (FAS) and 4 mean family functioning scores (FFS) were all significantly lifferent with the effect sizes of 0.29, 0.29, 0.34 and 0.30, respectively.</p> <p><strong><u>Conclusion:</u></strong> The M-TFS was suitable to support family members of substance users. This&nbsp; program should be promoted to health professional</p> <p><strong>Keyword:</strong> development of a family support, families, adolescence, illicit drug use</p> จักรวาล หารไชย Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 145 151 พฤติกรรมการบริโภคอาหารของบุคลากร ณ ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13839 <p><strong>The Food Consumption behavior among Personnel in Queen Sirikit Heart Center of the Northeast</strong></p> <p>Sarochin Sompongpun, Aranya Udomwech<sup><br></sup>Nutrition Unit Queen Sirikit Heart Center of the Northeast Department of Medicine Khon Kean University</p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong> : พฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม เป็นพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจส่งผลให้เกิดภาวะโรคอ้วน (Obesity) และโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD: Non-Communication Disease) จากข้อมูลการตรวจสุขภาพของบุคลากรศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ ประจำปี พ.ศ. 2564 พบว่า ร้อยละ 32.86 (256 คน) มีภาวะโรคอ้วน การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาร้อยละของการบริโภค อาหารหวาน มัน เค็ม ในกลุ่มบุคลากร<br>ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯและเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ในบุคลากร ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ฯ</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา</u></strong> : การศึกษาเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง (cross-sectional descriptive study) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามออนไลน์ Google Form จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 102 คน ตั้งแต่ กรกฎาคม ถึง สิงหาคม พ.ศ. 2565 นำข้อมูลที่ได้มาตรวจสอบความถูกต้อง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย IBM SPSS statistics version 28 กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p&lt;0.05</p> <p><strong><u>ผลการศึกษา</u></strong> : จากการศึกษา พบว่าอัตราการตอบกลับ ร้อยละ 53.12 กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม 13 คน (ร้อยละ 26.47) และพบว่าปัจจัยด้านช่วงอายุ (OR=0.28: 95%CI, 0.09-0.89, p=0.031) และช่วงรายได้ (OR=0.33: 95%CI, 0.12-0.95 p=0.039) มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม</p> <p><strong><u>สรุป</u></strong> : กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมเสี่ยงในการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ร้อยละ 26.47 และพบ 2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคหวาน มัน เค็ม ได้แก่ กลุ่มช่วงวัย Generation Y และ Generation Z <br>มีความเสี่ยงในการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม มากกว่า กลุ่มช่วงวัย Baby Boomer และ Generation X ถึง <br>0.72 เท่า เช่นเดียวกับ ผู้ที่มีรายได้สูง มีความเสี่ยงในการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม มากกว่า ผู้ที่มีรายได้ต่อเดือนน้อย 0.67 เท่า ด้านความพึงพอใจต่อการเข้าถึงอาหารสุขภาพ ควรจัดให้มีการจำหน่ายเครื่องดื่มที่สามารถเลือกระดับความหวาน หรือไม่หวาน ในบริเวณสถานที่ปฏิบัติงานเพิ่มมากขึ้น&nbsp;</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong> : พฤติกรรมการบริโภค, หวาน มัน เค็ม, โรคอ้วน</p> <p><strong><u>Background and Objective</u></strong><strong>: </strong>Consuming highs in sweets, fat and salt could linking with higher risk of obesity and non-communication disease. Regarding of the annual health check-up report among Queen Sirikit Heart Center of the Northeast personnel in 2022, has been shown that 32.86 percent (256 persons) are considered as obesity. Thus, this study aims to investigate the prevalence and the risk factors of consuming a high in fat, sweet and salt diet among personnel at Queen Sirikit Heart Center of the Northeast.</p> <p><strong><u>Method</u></strong><strong>: </strong>The study was a cross-sectional descriptive study. Data were collected from 102 participants by online questionnaire (Google form) for 2 months, from July 2022 to August 2022. Checked the validity and analyzed data with IBM SPSS statistics version 28, p&lt;0.05 was considered for statistical significance.</p> <p><strong><u>Result</u></strong><strong>: </strong>From 102 participants conducted (53.12 percent response rate). The prevalence of sweet, fatty, and salty food consumption is 26.47 percent. There are two factors associated to sweet, fatty and salty food consumption which are a generation (OR=0.28: 95%CI, 0.09-0.89, p=0.031) and income group (OR=0.33: 95%CI, 0.12-0.95 p=0.039).</p> <p><strong><u>Conclusion</u></strong><strong>: </strong>According to the study findings, there are 26.47 percent participants consume sweet, fatty and salty diet on this study. Additionally, there are two associated factors found. It was determined that individuals belonging to Generation Y and Generation Z are 0.72 times more likely to consume foods high in sugar, fat, and salt when compared to Baby Boomers and Generation X. Similarly, the high-income group is 0.67 times more likely to consume foods high in sugar, fat, and salt when compare to low-income group. Further study could considerate other factors beyond. Recommend <span style="text-decoration: line-through;">on </span>supporting low-sugar alternative beverages, promote nutrition knowledge and improve access to healthy food.&nbsp;&nbsp;</p> <p><strong>Keywords: </strong>consumption behavior, sweet fatty and salty food, obesity</p> สโรชิน สมพงษ์พันธุ์ อรัญญา อุดมเวช Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 152 160 สัดส่วนของภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบบี หัด และสุกใส ในบุคลากรทางการแพทย์ใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13840 <p><strong>The Proportion of Hepatitis B virus, Measles, and Varicella Immunity Among New Healthcare Personnel at Faculty of Medicine Khon Kaen University, Thailand</strong></p> <p>Krittin Wipahut<sup>1</sup>, Warisa Soonthornvinit<sup>2*</sup>, Naesinee Chaiear<sup>1</sup></p> <p><sup>1 </sup>Department of Community, Family, and Occupational Medicine, Faculty of Medicine, Khon Kaen University</p> <p><sup>2 </sup>Department of Community Medicine, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University</p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong><strong>:</strong> บุคลากรทางการแพทย์มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อในโรงพยาบาล ภูมิคุ้มกันต่อเชื้อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนจึงมีความจำเป็นโดยเฉพาะผู้ที่เข้าทำงานใหม่ การศึกษานี้จึงต้องการสำรวจสัดส่วนผู้มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบบี หัด และสุกใส ในบุคลากรทางการแพทย์ที่เข้าทำงานใหม่</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา</u></strong><strong>:</strong> การศึกษานี้เป็นวิจัยเชิงพรรณนาแบบเก็บข้อมูลย้อนหลัง ประชากรศึกษาคือบุคลากรทางการแพทย์เข้าทำงานใหม่ ณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยสืบค้นข้อมูลเวชระเบียนการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงานในช่วง 1 ต.ค. 2561 - 31 ต.ค. 2564 ได้แก่อายุ เพศ อาชีพ ภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบบี หัดและสุกใส วิเคราะห์และแสดงผลเป็นจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และพิสัยควอไทล์</p> <p><strong><u>ผลการศึกษา</u></strong><strong>:</strong> บุคลากรที่ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน พ.ศ. 2561-2564 มีจำนวน 2,156 ราย เป็นเพศชายปีละ144-192 ราย หญิง 301-459 ราย มัธยฐานอายุ 24-26 ปี พิสัยควอไทล์ 5-6 ปี ประกอบอาชีพแพทย์มากที่สุดร้อยละ 30.4-42.2 รองลงมาได้แก่พยาบาลร้อยละ 13.5-30.6 สัดส่วนเฉลี่ยของผู้มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบบีได้แก่ร้อยละ 66.8 หัดร้อยละ 66.7 และสุกใสร้อยละ 91.6 โดยพนักงานการแพทย์ พยาบาล และแพทย์เป็นอาชีพที่มีจำนวนผู้ไม่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบบี และหัดมากที่สุด</p> <p><strong><u>สรุป</u></strong><strong>:</strong> บุคลากรทางการแพทย์ผู้เข้าทำงานใหม่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบบีและหัดน้อยลง เป็นความเสี่ยงสำคัญที่ควรตรวจสอบก่อนเข้าทำงานเพื่อดำเนินการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันดังกล่าวให้ครอบคลุม</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> ภูมิคุ้มกัน, บุคลากรทางการแพทย์, ไวรัสตับอักเสบบี, หัด, สุกใส</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><strong><u>Background and Objective:</u></strong> Immunization for preventable diseases was necessary, especially for new healthcare personnel (HCP) who were at risk of nosocomial infection. Therefore, this study aimed to explore the proportions of Hepatitis B virus (HBV), Measles, and Varicella (VZV) immunity of new HCP.</p> <p><strong><u>Methods:</u></strong> This research was a retrospective descriptive study. The study population was newly employed HCP of the Faculty of Medicine, Khon Kaen University. The data collected from the preplacement examination program between 1 October 2018 to 31 October 2021 included age, sex, occupation, immunity to HBV, Measles, and VZV. The information was described as number, percentage, average, median, and interquartile range (IQR).</p> <p><strong><u>Results:</u></strong> Two thousand, one hundred and fifty-six HCP attended the preplacement examination program through 2018-2021. One hundred and forty-four to 192 were males, and 301-459 were females. Their median age was 24-26 years, and IQR was 5-6 years. The first and second largest occupations were physician 30.4-42.2% and nurse 13.5-30.6%. The average proportion of HBV immunity was 66.8%, Measles immunity was 66.7%, and VZV immunity was 91.6%. The greatest number who had inadequate HBV and Measles immunity were medical assistants, nurses, and physicians occupations.</p> <p><strong><u>Conclusion:</u></strong> New HCP had lower HBV and Measles immunity protections. These critical risks should assess before work and promote their coverage.</p> <p><strong>Key word</strong>:&nbsp; immunity, health care personnel, Hepatitis B, Measle, Varicella</p> กฤติน วิภาหัสน์ วริษา สุนทรวินิต เนสินี ไชยเอีย Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 161 167 การประเมินผลการใช้อัลกอริทึม iterative metal artifact reduction (iMAR) และการขยายสเกลของตัวเลข CT ต่อการกระจายรังสีในแผนการรักษาเทคนิคVMAT ส่วนศีรษะและลำคอ (ศึกษาในหุ่นจำลอง) https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13841 <p><strong>Evaluation of the Iterative Metal Artifact Reduction (iMAR) Algorithm and an Extended CT Number Scale on </strong><strong>Dosimetry of Head and Neck </strong><strong>VMAT Treatment Planning </strong></p> <p><strong>(Phantom Study)</strong></p> <p>Adcharee Seenukhroah</p> <p>Department of Radiology, Maharat Nakhon Ratchasima Hospital, Thailand</p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong><strong>: </strong>สิ่งแปลกปลอมจากอะมัลกัมในภาพเอกซเรย์ซีที ทำให้ตัวเลขซีที และการคำนวณแผนการฉายรังสีแบบปรับความเข้มเชิงปริมาตรของโรคมะเร็งศีรษะและลำคอไม่ถูกต้อง จึงทำการศึกษาเพื่อประเมินผลการแก้ไขโดยใช้อัลกอริทึม iterative Metal Artifact Reduction (iMAR) และขยายสเกลซีที ใน<em>เครื่อง</em>ซีทีจำลองการรักษา ร่วมกับการขยายเส้นโค้งสอบเทียบซีทีในระบบวางแผนการรักษา</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา</u></strong><strong>: </strong>สร้างและขยายเส้นโค้งสอบเทียบซีทีในระบบวางแผนการรักษา จากนั้น ประเมินผลการใช้ iMAR และการขยายสเกลซีที เพื่อแก้ไขตัวเลขซีที แล้วประเมินผลการใช้ iMAR และการขยายสเกลซีที ร่วมกับการขยายเส้นโค้งสอบเทียบซีที ต่อความถูกต้องของแผนการฉายรังสีแบบปรับความเข้มเชิงปริมาตร โดยศึกษาย้อนหลังแผนการฉายรังสีแบบปรับความเข้มเชิงปริมาตรของโรคมะเร็งศีรษะและลำคอ ที่มีสิ่งแปลกปลอมในภาพ ของโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ระหว่างเดือนตุลาคม 2564 ถึงมีนาคม 2565 กลุ่มตัวอย่าง 11 ราย แล้วคัดลอกตำแหน่งอะมัลกัม เป้าหมาย และวิธีคำนวณของแต่ละราย มาศึกษาในหุ่นจำลองระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงกันยายน 2565</p> <p><strong><u>ผลการศึกษา</u></strong><strong>:</strong> ในบริเวณสิ่งแปลกปลอม iMAR แก้ไขตัวเลขซีทีของเนื้อเยื่อเท่านั้น ในขณะที่ การขยายสเกลซีทีแก้ไขตัวเลขซีทีของโลหะเท่านั้น แผนการฉายรังสีแบบปรับความเข้มเชิงปริมาตรที่ศึกษาในหุ่นจำลอง ผ่านเกณฑ์ประเมินของระบบพอร์ทัล โดซิมิทรี (ร้อยละ 3, 3 มม.) ทั้งหมด ผลการวัดด้วยเทอร์โมลูมิเน<em>ส</em>เซนต์ <em>โดซิมิเตอร์ </em>(ทีแอลดี)&nbsp; ไม่แตกต่างจากระบบวางแผนการรักษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.129)</p> <p><strong><u>สรุป</u></strong><strong>: </strong>iMAR แก้ไขตัวเลขซีทีของเนื้อเยื่อในบริเวณสิ่งแปลกปลอม ในขณะที่ การขยายสเกลซีทีแก้ไขตัวเลขซีทีของโลหะ จึงควรใช้ทั้ง iMAR และการขยายสเกลซีทีใน<em>เครื่อง</em>ซีทีจำลองการรักษา ร่วมกับการขยายเส้นโค้งสอบเทียบซีทีในระบบวางแผนการรักษา เพื่อให้การคำนวณแผนการฉายรังสีแบบปรับความเข้มเชิงปริมาตรของโรคมะเร็งศีรษะและลำคอ ที่มีสิ่งแปลกปลอมจากโลหะถูกต้องยิ่งขึ้น</p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>:</strong> สิ่งแปลกปลอม, การขยายสเกลซีที, อัลกอริทึม iMAR</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p> <p><strong><u>Background and Objective</u></strong><strong>:</strong> Artifacts caused by amalgam in CT (Computed Tomography) images induce incorrect CT number reconstructions and inaccurate dosimetric calculations of <em>volumetric modulated arc therapy (VMAT</em>) plans for head and neck (H&amp;N) cancers. This study aimed to evaluate the potential of artifact correction using iterative metal artifact reduction (iMAR) algorithm and extended CT scale in CT simulator and extended CT calibration curve in treatment planning system (TPS).</p> <p><strong><u>Methods</u></strong><strong>:</strong> Created and extended the CT calibration curve in TPS then evaluated the efficiency of iMAR and extended CT scale for CT number corrections and evaluated the efficiency of iMAR and extended CT scale combined with extended CT calibration curve for dosimetric acuracy of VMAT calculations, respectively. The VMAT plans for H&amp;N cancers which contained artifacts and treated in Maharat Nakhon Ratchasima Hospital during October 2021 to March 2022 (n = 11) were studied retrospectively. The locations of amalgam, targets and calculation methods of each patient were duplicated to phantom and studied in June to September 2022.</p> <p><strong><u>Results</u></strong><strong>: </strong>The errors of CT number representations of tissue in artifacts were improved only by iMAR applications whereas of metallic materials were improved only by extended CT scale applications. All of calculated VMAT plans in phantom passed criteria of Portal Dosimetry system (3%, 3 mm). There was no significant dosimetric difference between <em>thermoluminescent dosimeter</em>&nbsp;(TLD) measurements and TPS calculations (p = 0.129).&nbsp; &nbsp;</p> <p><strong><u>Conclusion</u></strong><strong>:</strong> The CT number discrepancies in artifacts are corrected by iMAR whereas of metallic materials are corrected by extended CT scale. Therefore the images which contained metal artifacts should be corrected by both iMAR and extended CT scale applications in CT simulator also with extension of CT calibration curve in TPS to improve the dosimetric accuracy of VMAT plans for H&amp;N cancers.</p> <p><strong>Key words: </strong>artifact, extended CT scale, iMAR algorithm</p> อัจฉรี ศรีนุเคราะห์ Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 168 173 ความเสียหายของชีววัตถุพยานในคดีความผิดทางเพศ: การศึกษาในโรงพยาบาล https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13842 <p><strong>Damage of Biological Evidences in </strong><strong>Sexual Assault Cases: A Hospital-Based Study</strong></p> <p>Wirut Khunkitti, Thitichai Weingsimma, Khanitha Nualthaisong, Umaporn Niyanuch<sup>*</sup></p> <p><sup>&nbsp;</sup>Department of Forensic Medicine, Faculty of Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen, 40002, Thailand.</p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong><strong> :</strong> คราบอสุจิเป็นชีววัตถุพยาน (biological evidence) ที่มีความสำคัญในคดีความผิดทางเพศ เพื่อใช้ประกอบการสืบสวนคดีหาความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทำความผิดกับผู้เสียหายได้ ดังนั้นการเก็บรักษาและนำส่งวัตถุพยานประเภทนี้เพื่อนำไปตรวจสอบจึงมีความสำคัญอย่างมาก การเก็บรักษาคราบอสุจิรวมถึงการนำส่งที่ไม่ถูกต้องอาจจะส่งผลต่อคุณภาพของวัตถุพยานซึ่งมีผลต่อการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางนิติวิทยาศาสตร์ต่อไป การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความเสียหายของสิ่งส่งตรวจในคดีความผิดทางเพศที่เสียหายจากการเก็บรักษาและการนำส่ง</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา</u></strong><strong> :</strong> ข้อมูลจะถูกเก็บจากแบบฟอร์มการส่งสิ่งส่งตรวจในคดีความผิดทางเพศและบันทึกการรับวัตถุพยานที่ห้องปฏิบัติการ ภาควิชานิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเป็นสิ่งส่งตรวจในคดีความผิดทางเพศที่ถูกนำส่งจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2554&nbsp; ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2559 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ข้อมูลโดย binary logistic regression.</p> <p><strong><u>ผลการศึกษา</u></strong><strong> :</strong> สิ่งส่งตรวจคดีความผิดทางเพศมีจำนวนทั้งสิ้น 4,024 ตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นไม้พันสำลีจำนวนร้อยละ 97.64 (3,929/4,024) ส่วนที่เหลือเป็นแผ่นสไลด์แก้วจำนวนร้อยละ&nbsp; 2.36 (95/4,024) ไม้พันสำลีที่ส่งมาตรวจอยู่ในสภาพเสียหายจากการเกิดเชื้อราจำนวนร้อยละ 1.68 (66/3,929) นอกจากนี้ยังพบว่าระยะเวลาในส่งสิ่งตรวจที่เพิ่มขึ้น 1 วัน ส่งผลให้ไม้พันสำลีมีโอกาสเกิดเชื้อราเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยคิดเป็น 1.09 เท่า (p &lt; 0.05) ในส่วนของสไลด์แก้วพบว่าสไลด์แก้วอยู่ในสภาพแตกเสียหายจำนวนร้อยละ&nbsp; 8.42 (8/95)</p> <p><strong><u>สรุป</u></strong><strong> :</strong> วิธีการเก็บตัวอย่าง การเตรียมสิ่งส่งตรวจก่อนนำส่ง รวมถึงระยะเวลาในการส่งสิ่งส่งตรวจเป็นสิ่งสำคัญซึ่งส่งผลทำให้เกิดความเสียหายแก่วัตถุพยานในคดีความผิดทางเพศได้</p> <p>&nbsp;</p> <p><strong>คำสำคัญ :</strong> ความผิดทางเพศ, วัตถุพยาน, ไม้พันสำลี, การเกิดเชื้อรา, &nbsp;การรักษาวัตถุพยาน</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><strong>&nbsp;</strong></p> <p><strong><u>Background and objective</u></strong> : Semen stains are the biological evidence that is important for charging individuals with sexual offenses because, for investigative purposes, there are used to verify the relationship between the offender and the victim. Therefore, the preservation and delivery of this type of physical evidence for examination is very important. The poor preservation of semen stains, including improper delivery, may affect the quality of the physical evidence and thus, may further affect additional forensic laboratory testing. This study aimed at examining the patterns of damage of specimens from sexual assault cases that can occur during storage and delivery.</p> <p><strong><u>Method</u></strong> :.The data was collected from the submission form of the specimens in sexual assault cases and the records from the receipt of physical evidence at the Laboratory of the Department of Forensic Medicine at the Faculty of Medicine at Khon Kaen University. The specimens, which were investigated, had been delivered from hospitals in the Northeast from 1 March 2011 to 31 August 2016. Analyzing the statistical relationship by binary logistic regression.</p> <p><strong><u>Result</u></strong> : The majority were cotton swabs at 97.64 percent (3,929 / 4,024), and the remaining samples consisted of glass slides at 2.36 percent (95 / 4,024). However, it was found that 1.68% (66 / 3,929) of the cotton swabs, which had been sent for examination, had been damaged by fungal contamination. In addition, every day that the period of testing was extended was found to have resulted in significantly increased fungal contamination by 1.09 times (p&lt;0.05). Moreover, 8.42% (8/95) of the glass slides had been broken.</p> <p><strong><u>Conclusion</u></strong> : The pre-delivery process and the timely delivery of the specimens are both important. In addition, with poor preservation and slow delivery, the physical evidence, which is required for the sexual assault cases, can be damaged.</p> <p><strong>Key words </strong>: Sexual assault, physical evidence, cotton swab, fungal contamination, physical evidence preservation</p> วิรุจน์ คุณกิตติ ธิติชัย เวียงสิมมา ขนิษฐา นวลไธสง อุมาพร นิยะนุช Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 174 178 การรักษาถุงน้ำปลายรากฟันขนาดใหญ่โดยสหวิทยาการศาสตร์ คลองรากฟันและศัลยกรรมใบหน้าขากรรไกร: รายงานผู้ป่วย https://thaidj.org/index.php/smnj/article/view/13843 <p><strong>Treatment of a Large Radicular Cyst with Interdisciplinary of Endodontics and Maxillofacial Surgery: Case Report</strong></p> <p>Kaidsarin Charoensangsuriya*, Somkiat Udompaiboonsuk</p> <p>Dental Department, Bangkok Metropolitan Administration General Hospital, Bangkok, Thailand 10110</p> <p><strong><u>หลักการและวัตถุประสงค์</u></strong><strong><u>:</u></strong> ถุงน้ำปลายรากฟันมีต้นกำเนิดเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อจากฟันเป็นการขยายของเยื่อบุหลงเหลือมาลาสเซซ์ที่พบในเอ็นยึดปริทันต์ต่อสภาวะการอักเสบบริเวณรอบรากฟันส่งผลกระทบต่อขากรรไกร การรักษาถุงน้ำปลายรากฟันโดยการศัลยกรรมหรือไม่ทำศัลยกรรมขึ้นอยู่กับขนาดและตำแหน่งของรอยโรคบทความนี้เป็นรายงานความสำเร็จสหวิทยาศาสตร์คลองรากฟันและศัลยกรรมใบหน้าขากรรไกรในการรักษา ถุงน้ำปลายรากฟันขนาดใหญ่ 40x15 มิลลิเมตร บริเวณฟันตัดบนซี่ข้างด้านซ้ายที่มีปลายรากฟันเปิดกว้าง มีการติดตามผลการศึกษานี้เป็นระยะเวลานานถึง 10 ปี สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพของรอยโรคดีขึ้นเป็นลำดับ</p> <p><strong><u>วิธีการศึกษา:</u></strong> การรักษาถุงน้ำปลายรากฟันขนาดใหญ่โดยการรักษาคลองรากฟันแบบมาตรฐานฟันตัดบนด้านซ้ายร่วมกับการทำมาร์ซูเพียลไลเซชันเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดภยันตรายต่ออวัยวะข้างเคียง ผู้ป่วยถูกติดตามผลการรักษาทางคลินิกและภาพรังสี&nbsp; ทำการควักถุงน้ำออกทั้งก้อนร่วมกับการทำศัลยกรรมตัดปลายรากและอุดจากปลายรากด้วยวัสดุMineral trioxide aggregate (MTA<sup>®</sup>) ทำการส่งตรวจทางจุลพยาธิวิทยาให้การระบุเป็นถุงน้ำปลายรากฟัน .</p> <p><strong><u>ผล</u></strong><strong><u>การศึกษา</u></strong>ผู้ป่วยรายนี้มีการติดตามผลการรักษานานถึง 10 ปี ไม่มีอาการและอาการแสดงใดๆ ภาพรังสีแสดงรอยโรคกำลังหาย</p> <p><strong><u>สรุป :</u></strong> &nbsp;รายงานผู้ป่วย 1 ราย ที่วินิจฉัยโรคเป็นโรคเนื้อเยื่อในตายและมีอาการอักเสบที่ปลายรากฟันร่วมกับการเกิดถุงน้ำปลายรากฟันขนาดใหญ่ ความสำเร็จในการรักษาผู้ป่วยรายนี้เกิดจากการนำสหวิทยาศาสตร์คลองรากฟันและศัลยกรรมใบหน้าขากรรไกรในการวางแผนการรักษา</p> <p><strong>คำสำคัญ :</strong> ถุงน้ำปลายรากฟัน, มาร์ซูเพียลไลเซชัน, การควักออกทั้งก้อน, ศัลยกรรมปลายรากฟัน</p> <p>&nbsp;</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><u>&nbsp;<strong>Background and Objective: </strong></u>Radicular cysts are odontogenic infection in origin. They arise from epithelial cell rests of Malassez in the periodontal ligament as a result of periapical&nbsp; inflammation which affect the jaw. The treatment of radicular cysts can be managed surgically or non-surgically depending on the site and size of the lesion. This case report presents the successful treatment of a large radicular cyst size approximately 40x15 mm<sup>2</sup> with Interdisciplinary of endodontics and maxillofacial surgery &nbsp;which was associated with maxillary lateral incisor with open apex. Subsequently, the patient had follow up visit at 10 years and the pathology of lesion had progressed better.</p> <p><strong><u>Method</u></strong><strong><u>: </u></strong>A large radicular cyst was decided to treat with conventional root canal therapy at left maxillary incisor and marsupialization in order to avoid damage to adjacent anatomical structures. Patients were followed routine&nbsp; with clinical and radiological examination. Enucleation&nbsp; and endodontic surgery were obtained by apicoectomy and retrograde filling with mineral trioxide aggregation. Histopathological examination was identified suggestive of&nbsp; radicular cyst.</p> <p><strong><u>Results :</u></strong>&nbsp; The patient was recalled during 10 years follow-up period, no symptoms or signs were noted. Radiograph showed the healing lesion.</p> <p><strong><u>Conclusion:</u></strong> Diagnosis of&nbsp; a case report is &nbsp;pulp necrosis&nbsp; with&nbsp; symptomatic&nbsp; apical&nbsp; periodontitis&nbsp;&nbsp; with&nbsp; a large radicular cyst . The success of treating this patient is due to the interdisciplinary&nbsp; planning of endodontic and maxillofacial surgery treatments.</p> <p><strong>Keyword : </strong>radicular cysts , marsupialization , enucleations, endodontic surgery</p> เกศรินทร์ เจริญแสงสุริยา สมเกียรติ อุดมไพบูลย์สุข Copyright (c) 2023 https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 2023-04-27 2023-04-27 38 2 179 186