How to Treat Gastrointestinal Disease not to Become a Severe Disease
Abstract
เมื่อกล่าวถึงอาการท้องผูก สิ่งที่เราจะนึกถึงคือเรื่องพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ทำให้เกิดอาการท้องผูกเป็นลำดับแรก แต่ในความเป็นจริงแล้วอาการท้องผูกเกิดได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันของเรามีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย นั่งนาน หรือไม่ค่อยออกกำลังกาย การเปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิตประจำวัน ช่วงระหว่างการเดินทาง การท่องเที่ยว เกิดการเปลี่ยนแปลงการรับประทานอาหาร การนอน การดื่มน้ำไม่เพียงพอ ทำให้การทำงานของลำไส้ลดลง และอาจเกิดจากภาวะร่างกายอื่น ๆ เช่น การตั้งครรภ์ ภาวะจิตใจ เช่น ความเครียด โรคความผิดปกติที่เกี่ยวกับการรับประทานอาหาร โรคคลั่งผอม ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพระยะยาวได้ การขับถ่ายเป็นความจำเป็นขั้นพื้นฐานของร่างกาย เพื่อนำกากอาหารที่เหลือจากการย่อยและดูดซึม ตลอดจนของเสียที่เกิดขึ้นจากการทำงานของอวัยวะต่างๆ ออกจากร่างกาย ความหมายของการขับถ่ายปกติในแต่ละคนจึงอาจแตกต่างกันไป
References
สุเทพ กลชาญวิทย์. ท้องผูก (Constipation). [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 6 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://www.thaimotility.or.th/files/10.การรักษาท้องผูก(1).pdf
สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. ตำราการตรวจรักษาโรคทั่วไป2 : 350 โรคกับการดูแลรักษาและการป่องกัน. กรุงเทพฯ : โฮลิสติก พับลิชชิ่ง , พิมพ์ครั้งที่ 5 . 2553.
มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิมฯ และ โรงเรียนอายุรเวทวิทยาลัย (ชีวกโกมารภัจจ์). ตำราการแพทย์ไทยเดิม (แพทยศาสตร์สงเคราะห์) ฉบับพัฒนา ตอนที่ 1. กรุงเทพฯ : สีไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2 . 2541.
บุษบา ประภาสพงศ์และคนอื่น ๆ. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ. กรุงเทพฯ : สกสค.ลาดพร้าว , พิมพ์ครั้งที่ 3 . 2551.
มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิมฯ และ โรงเรียนอายุรเวทธำรง สถานการณ์แพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. ตำราการแพทย์ไทยเดิม (แพทยศาสตร์สงเคราะห์ ฉบับอนุรักษ์) เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ : ศุภวนิชการพิมพ์ , พิมพ์ครั้งที่ 3 . 2555.
วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก. คัมภีร์อุทรโรค. [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 10 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.kmpht.ac.th/Project61/ttm1/lession12.php
วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก. คัมภีร์อติสาร. [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 10 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.kmpht.ac.th/Project61/ttm1/lession15.php
ดอกรัก พยัคศรี. (2559). โรคป่วงห้าประการในคัมภีร์อติสาร. [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 13 มิถุนายน 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://www.sac.or.th/conference/2017/blog-post/โรคป่วงห้าในคัมภีร์/
ข้อมูลพืชสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ชุมเห็ดเทศ. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 16 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=86
PStip ผู้หญิง สุขภาพ ความงาม แม่และเด็ก เมนูอาหาร สัตว์เลี้ยง. มะขาม-สรรพคุณและประโยชน์. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 16 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://pstip.cc/b/ผักและผลไม้/มะขาม-สรรพคุณและประโยชน์.html
ข้อมูลพืชสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. มะขามแขก. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 16 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=175
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. คูน. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 16 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=216
ข้อมูลพืชสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ขี้เหล็ก. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 18 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=60
Kapook health สมุนไพรเพื่อสุขภาพ. (2562). เม็ดแมงลัก สมุนไพรเด็ด ช่วยให้หุ่นสวย สุขภาพดี. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 18 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://health.kapook.com/view53329.html
ณัฐรดา บุรุษเลี่ยม. คุณค่าสมุนไพร ภูมิปัญญาไทย 4 ภาค [ปกิณกะ]. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี 2563;45:65-74.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ทับทิม. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 19 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=230
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ฟ้าทะลายโจร. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 19 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=97
ณัฐรดา บุรุษเลี่ยม. การแพทย์แผนไทยกับการสร้างเกราะป้องกันไวรัส [ปกิณกะ]. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี 2563;45:229-40.
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สมอไทย. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 19 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=286
พิเชษฐ์ เลิศธรรมศักดิ์และคณะ. พิกัดยาไทย. สมุทรสาคร : พิมพ์ดี, มปป.
ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. สมอพิเภก. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 18 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=133
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. มะขามป้อม. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 20 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=101
MedThai. โกฐน้ำเต้า สรรพคุณและประโยชน์ของต้นโกฐน้ำเต้า 22 ข้อ ! (ตั่วอึ๊ง). [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก :https://medthai.com/โกฐน้ำเต้า/
รณชัย ภูวันนา, นาฏศจีนวลแก้ว, สมศักดิ์นวลแก้ว. การกำหนดมาตรฐานการแปรสภาพเรซินรงทองตามกรรมวิธีทางการแพทย์แผนไทย. เภสัชศาสตร์อีสาน 2557;10:124-35.
ฐานข้อมูลตำรับยาสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.เบญจกูล. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 24 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thai-remedy.com/main.php?action=viewpage&pid=7
ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ยาธรณีสัณฑะฆาต. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 25 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/index.php/data/detail/18
ฐานข้อมูลตำรับยาสมุนไพร ในบัญชียาหลักแห่งชาติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ยาธาตุบรรจบ. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 25 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thai-remedy.com/main.php?action=viewpage&pid=2
ฐานข้อมูลตำรับยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ยาเหลืองปิดสมุทร. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 25 มิ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก :http://www.thai-remedy.com/main.php?action=viewpage&pid=12
Downloads
Published
Versions
- 2023-07-11 (2)
- 2022-08-31 (1)
Issue
Section
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพิ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารโรงพยาบาลชลบุรี