Relieve stress Reduce caffeine & Relax For sleep hygiene

Authors

  • Natrada Burusliam

Abstract

อาการนอนไม่หลับเป็นปัญหาสุขภาพที่พบได้บ่อยและส่งผลต่อคุณภาพชีวิตทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง จิตใจไม่แจ่มใสและสมองไม่ปลอดโปร่ง การนอนไม่หลับส่งผลกระทบในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านร่างกาย พบว่า ผู้ที่นอนไม่หลับมักมีอาการไม่สุขสบายต่าง ๆ มีอาการอ่อนเพลีย ไม่สดชื่น มีปัญหาด้านความคิด ง่วงนอนเวลากลางวัน มีรายงานวิจัยระบุว่าผู้ที่นอนไม่หลับมีโอกาสเป็นโรคในระบบหัวใจและหลอดเลือดมากกว่าผู้ที่ไม่มีปัญหาการนอนหลับ ประมาณ 2 เท่า ด้านอารมณ์ ผู้ที่นอนไม่หลับมีโอกาสมากถึง 38 เท่าที่จะเกิดภาวะซึมเศร้า เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่มีปัญหาการนอน การนอนไม่หลับทำให้หงุดหงิดได้ง่าย ไม่มีสมาธิและวิตกกังวล ด้านสังคม ผู้ที่นอนไม่หลับมักจะสร้างสัมพันธภาพภายในครอบครัวได้ยากลำบาก มีความพึงพอใจต่อการทำงานลดลงและเกิดการขาดงานบ่อยครั้ง เนื่องจากความเจ็บป่วย จะเห็นได้ว่า อาการนอนไม่หลับเป็นทั้งต้นเหตุและปลายเหตุของโรคต่าง ๆ มากมาย ดังนั้น การนอนหลับเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์เพื่อคงความมีสุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และเป็นกิจกรรมประจำวันที่สำคัญสำหรับชีวิต  

References

Schwartz S, Anderson WM, Cole SR, Cornoni-Huntley J, Hays JC, Blazer D. Insomnia and heart disease: a review of epidemiologic studies. Journal of Psychosomatic Reseaarch 1999;47(4):313-33.

Ford DE, Kamerow DB. Epidemiologic study of sleep disturbances and psychiatric disorders. An opportunity for prevention. Journal of American Medical Association 1989;262(11):1479-84.

Leger D, Guilleminault C, Bader G, Levy E, Paillard M. Medical and socioprofessional impact of insomnia. Sleep 2002;25(6):625-9.

Closs SJ. Sleep. In: Alexander MF, Faweett JN, Runciman PJ, editors. Nursing practice: hospital and home-the adult. Edinburgh: Churchill Livingstone; 1999. p. 743-56.

ธิติมา ณรงค์ศักดิ์, ฐิติมา สงวนวิชัยกุล, วรพงศ์ ตรีสิทธิวนิช. การนอนหลับและสุขอนามัยการนอนหลับ [บทความฟื้นฟูวิชาการ]. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา 2563;14(2):69-85.

National Institutes of Health. National Institutes of Health state of the science conference statement on manifestations and management of chronic insomnia in adults. Sleep 2005;28:1049-57.

American Psychiatric Association. Diagnostic and statistical manual of mental disorders. 4th rev. ed. Washington, DC: American Psychiatric Association; 2000.

Morin CM. Insomnia: Psychological assessment and management. New York: Guilford Press; 1993.

Spielman AJ, Saskin P, Thorpy MJ. Treatment of chronic insomnia by restriction of time in bed. Sleep 1987;10:45-56.

สุรีรัตน์ ณ วิเชียร. การนอนหลับของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารการพยาบาล 2564;36(2):18-31.

กัมปนาท สุริย์, กุลนิดา สุนันท์ศิริกูล, กิตติยารัตน์ ต้นสุวรรณ. คุณภาพของการนอนหลับและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้อายุชุมชนเขตเมืองจังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิชาการแพทย์และสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3 2565;19(1):15-27.

บุญเรือง นิยมพร, ประกิต สุมนกาญจน์, ทองปลิว จรรยาวัฒน์, สร้อยศรี อนันตประเสริฐ, สุภาวดี ดอนเมือง, นงลักษณ์ ชินภาส, และคณะ. ตำราการแพทย์ไทยเดิม (แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์) ฉบับพัฒนา ตอนที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์; 2555.

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. ตำราการแพทย์แผนไทยสำหรับแพทย์. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2558.

ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. ยาสมุนไพร ปลอดภัย เมื่อใช้ถูกหลัก [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 1 พ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.gj.mahidol.ac.th/main/ttm/herb-right/.

ข้อมูลพืชสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ขี้เหล็ก [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 3 พ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://pharmacy.su.ac.th/herbmed/herb/text/herb_detail.php?herbID=60

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. ขี้เหล็ก [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 3 พ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://ittm.dtam.moph.go.th/images/knowleaga/3/31ขี้เหล็ก%20หน้า84-86.pdf

ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ชุมเห็ดไทย [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 3 พ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://apps.phar.ubu.ac.th/thaicrudedrug/main.php?action=viewpage&pid=54

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. ฤาษีดัดตน ขยับกาย สบายชีวี ด้วยการบริหารแบบไทย ฤาษีดัดตนพื้นฐาน 15 ท่า [อินเทอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 4 พ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://lamphuncity.go.th/wp-content/uploads/2022/04//ฤาษีดัดตน15ท่า.pdf

Sanook. นวดหน้า 7 ท่า ถนอมสายตาได้ดี [อินเทอร์เน็ต]. 2555 [เข้าถึงเมื่อ 4 พ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.sanook.com/campus/1098108/.

สมุดภาพบันทึกเรื่องวันวาน. กายบริหารแบบไทย ท่าฤาษีดัดตนพื้นฐาน 15 ท่า (ท่าที่ 4 แก้ลมเจ็บศีรษะและตามัว และแก้เกียจ) [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 4 พ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://phatarapornstuff.blogspot.com/2015/01/15-4.html

สมุดภาพบันทึกเรื่องวันวาน. กายบริหารแบบไทย ท่าฤาษีดัดตนพื้นฐาน 15 ท่า (ท่าที่ 11 แก้โรคในอก) [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 4 พ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก: http://phatarapornstuff.blogspot.com/2015/05/15-11.html

พรรณพร กะตะจิตต์. นอนอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ? [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 4 พ.ย. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.scimath.org/article-science/item/7419-2017-08-08-07-48-01

Downloads

Published

2022-12-28 — Updated on 2023-07-11

Versions