Nutritional Status of Surgical and Orthopedic Patients:Patients with Cancer in 3C Ward

Authors

  • Darawan Augsornwan
  • Pinrat Taewsopa
  • Palakorn Surakunprapha

Keywords:

ภาวะโภชนาการ

Abstract

วัตถุประสงค์:พื่อศึกษาภาวะโภชนาการของผู้ป่วยมะเร็งที่เข้ารับการรักษาโดยการผ่าตัดในหอผู้ป่วย 3ค แผนกการพยาบาลศัลยกรรมและออร์โธปิดิกส์

วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาแบบพรรณนา เชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยผู้ใหญ่มะเร็งที่เข้ารับการผ่าตัด ในช่วงเดือน ตุลาคม 2557-กันยายน 2558 เก็บข้อมูลโดยใช้ 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบคัดกรองภาวะโภชนาการ และ 3) แบบประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ การแจกแจงความถี่ และร้อยละ

ผลการศึกษา: จากการศึกษาภาวะโภชนาการของผู้ป่วยมะเร็งที่เข้ารับการรักษาโดยการผ่าตัดในหอผู้ป่วย 3ค แผนกการพยาบาลศัลยกรรมและออร์โธปิดิกส์พบว่า ผู้ป่วยเข้ารับการผ่าตัดจำนวน 45 ราย อายุเฉลี่ย 56.7 ปี ส่วนใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 55.5 มีปัญหาสุขภาพช่องปากร้อยละ 44.4 เป็นมะเร็งศีรษะและคอร้อยละ 46.7  ผลการคัดกรองภาวะโภชนาการพบว่า ร้อยละ 34.8  มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งประกอบด้วยผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอร้อยละ 41.1 ผลการประเมินภาวะโภชนาการ โดยใช้เครื่องมือวัด เส้นรอบกึ่งกลางแขน (MAC) ความหนา ไขมันใต้ผิวหนัง (TSF)  การคำนวณความหนากล้ามเนื้อใต้วงแขน (MAMC) พบว่ามีภาวะทุพโภชนาการ ในระดับสูง ร้อยละ 41.1,  52.9 และ 41.1 ตามลำดับ

สรุป:  ผู้ป่วยมะเร็งที่เข้ารับการผ่าตัดในหอผู้ป่วย ร้อยละ 34.8 มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งจะมีผลให้การหายของแผลช้ากว่าปกติ  มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน และการฟื้นตัวหลังผ่าตัดช้า

 

Objective: To study the nutritional status of patients with cancer in surgical ward  3C  at Surgical and Orthopedics Nursing Division , Srinagarind Hospital.

Method: This was a descriptive study,  the sample population were adult patients with cancer admitted in 3C Ward between October 2014 and September 2015.The instruments used in this study consisted of three parts:1)personal data , 2) screening nutritional status and 3) nutritional assessment. The data were analyzed by frequency and percentage.

Results: A sample population of 45 patients, mean age 56.75 years, male were 55.5%, patients  have oral cavity problem were 44.4%. Screening of nutritional status found the sample population had high incidence of Head and neck cancer 46.7%, Patients with high risk of malnutrition were 34.8% including 41.1 % were Head and neck cancer. Nutritional assessment by mid-arm circumference (MAC), triceps skin fold (TSF) mid arm muscle circumference (MAMC) found that patients with severe  nutritional status  were 41.1, 52.9 and 41.1 %, respectively.

Conclusion: The malnutrition status nutritional status of patients with cancer found 34.8%  in high risk nutrition it can lead to delayed of wound healing, complications and delayed on recovery.

References

งานเวชระเบียนและสถิติ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สถิติผู้ป่วยโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำปี 2556 เล่มที่ 18. ขอนแก่น: โรงพยาบาล; 2556

Van Cutsem E, Arends J. The causes and consequences of cancer-associated malnutrition. Eur J Oncol Nurs 2005; 9 (Suppl 2): S51-63.

Fearon KC, Voss AC, Hustead DS. Cancer†Cachexia†Study Group. Definition of cancer cachexia: effect of weight loss, reduced food intake, and systemic inflammation on functional status and prognosis. Am J Clin Nutr 2006; 83: 1345-50.

วิชิต วิริยะโรจน์. Nutrition management of surgical patient. ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2552.

Gustafsson UO, Scott MJ, Schwenk W, Demartines N, Roulin D, Francis N, et al. Guidelines for perioperative care in elective colonic surgery: Enhanced Recovery After Surgery (ERAS®) Society recommendations. Clin Nutr 2012; 31: 783-800.

Mukhopadhyay S, Paul C, Thander K, Gorai J, Purakayet M, Biswas S, et al. Assessment of nutrition in cancer patients and its effect on treatment outcome- A study from a developing country [abstract]. J Clin Oncol 2006; 24 (18 Suppl): 6125.

Mendes J, Alves P, Amaral TF. Comparison of nutritional status assessment parameters in predicting length of hospital stay in cancer patients. Clin Nutr 2014; 33: 466-70.

ปวงกมล กฤษณบุตร, อรพรรณ โตสิงห์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นตัวหลังผ่าตัดของผู้ป่วยที่ได้รับการ ผ่าตัดช่องท้องในระยะ 1 สัปดาห์แรก. วารสารสภาการพยาบาล 2555; 27: 39-48.

Sun Z, Kong XJ, Jing X, Deng RJ, Tian ZB. Nutritional risk screening 2002 as a predictor of postoperative outcomes in patients undergoing abdominal surgery: a systematic review and meta-analysis of prospective cohort studies. PloS ONE 2015; 10: e0132857.

หอผู้ป่วยศัลยกรรม 3 ค โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. การคัดกรองภาวะโภชนาการในผู้ป่วย มะเร็งศีรษะและลำคอ [เอกสารอัดสำเนา]. ขอนแก่น: โรงพยาบาล; 2556.

Larsson M, Hedelin B, Athlin B. Lived experiences of eating problems for patients with head and neck cancer during Radiotherapy. J Clin Nurs 2003; 12: 562-70.

ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร์, อุรุวรรณ แย้มบริสุทธิ์. โภชนาการ กับ สุขภาพของผู้สูงอายุ [Internet]. 2018 [cited Dec 28, 2018] . Available from http://advisor.anamai.moph.go.th/main.php?filename=JHealthVol20No2-03

Rocha NP, Forter RC. Total lymphocyte count and serum albumin as predictors of nutritional risk in surgical patients. Arq Bras Cir Dig J 2015; 28: 193–6.

Mueller C, Compher C, Ellen DM; American Society for Parenteral and Enteral Nutrition (A.S.P.E.N.) Board of Directors. A.S.P.E.N. clinical guidelines: Nutrition screening, assessment and intervention in adults. JPEN J Parenter Enteral Nutri 2011; 35: 16- 24.

Downloads

Published

2019-07-03

Issue

Section

Original Articles