Learning Resources in the 21st Century for Promoting Lifelong Learning in Medical Education

Authors

  • Krishna Suvarnabhumi
  • Sujitra Jorajit

Keywords:

แพทยศาสตรศึกษา, Medical Education

Abstract

แหล่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตในแพทยศาสตรศึกษา

กฤษณะ สุวรรณภูมิ 1, สุจิตรา จรจิตร 2

1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,

นักศึกษาปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่

2 คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่

แหล่งการเรียนรู้จะทำให้ผู้เรียนได้มาซึ่งความรู้และทักษะใหม่ๆ ตัวอย่างของแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ ตำรา เพื่อนร่วมงาน วารสารวิชาการ เพื่อให้แพทย์รู้จักเรียนรู้ด้วยตนเองและมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียนรู้ว่าจะใช้แหล่งการเรียนรู้อย่างไร โดยการใช้แหล่งข้อมูลควรทำอย่างเป็นขั้นตอน เริ่มตั้งแต่การค้นหาแหล่งการเรียนรู้ การประเมินว่าแหล่งการเรียนรู้อันไหนที่ควรเลือกใช้ การนำข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ไปใช้ และในท้ายที่สุดคือผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงในการใช้แหล่งข้อมูลนั้น สำหรับอาจารย์ผู้สอนและโรงเรียนแพทย์ควรตระหนักถึงปัญหาและอุปสรรคในการที่ผู้เรียนจะเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ เพื่อที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาการเรียนรู้ไปในทิศทางที่เขาต้องการ

                Learning resources help students learn new knowledge and skills. The examples of learning resources are textbooks, colleagues and journals. To prepare self-directed and lifelong learning, students should know how to use learning resources effectively. Using resources should be in a sequence of searching, evaluation, decision, and application. After the students use evidence in learning resources, they will have direct experience. Instructors and medical schools should explore problems and obstacles of using learning resources to help students fulfil their learning need.

References

Shershneva MB, Slotnick HB, Mejicano GC. Learning to use learning resources during medical school and residency. J Med Libr Assoc 2005; 93: 2: 263-70.

Partnership for 21st Century Learning Skills. Framework for 21st Century Learning [Internet]. [cited 2019 January 01]. Available from: www.P21.org

ณัฏฐลักษณ์ ธาระวานิช, แหล่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน. ใน: สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล. การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. การศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาการศึกษาไทยกับนานาชาติ: นวัตกรรมด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อยกระดับการศึกษาเพื่อแรงงานไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2549.

Barros R. From lifelong education to lifelong learning: discussion of some effects of today’s neoliberal policies. European Journal for Research on the Education and Learning of Adults 2012; 3: 2: 119-134.

อาชัญญา รัตนอุบล. คำจำกัดความ แนวคิด และลักษณะการศึกษาตลอดชีวิต. ใน: สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล, บรรณาธิการ. การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.

สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ. รายงานสรุปการสัมมนายุทธศาสตร์การเรียนรู้ตลอดชีวิต. กรุงเทพมหานคร: องค์การค้าคุรุสภา, 2543.

Kelly L. Community-based medical education. In Kelly L. Community-based medical education: a teacher’s handbook. London: Radcliffe Publishing, 2012.

Benbassat J. Role modeling in medical education: the importance of a reflective imitation. Acad Med 2014; 89: 550–4.

Achkar MA, Hanauer M, Morrison EH, Davies MK, Oh RC. Changing trends in residents-as-teachers across graduate medical education. Adv Med Educ Pract 2017: 8: 299-306.

Jauregui J, Bright S, Strote J, Shandro J.A novel approach to medical student peer-assisted learning through case-based simulations. West J Emerg Med 2018; 19: 1: 193–197.

Mathur R. What is the importance of textbook [Internet]? [cited 2019 January 16]. Available from:

https://www.quora.com/What-is-the-importance-of-textbook

Berg AO, Atkins D, Tierney W. Clinical practice guidelines in practice and education. J Gen Intern Med 1997; 12 (Suppl2): S25–S33.

Holt RI, Miklaszewicz P, Cranston IC, Russell-Jones D, Rees PJ, Sönksen PH. Computer assisted learning is an effective way of teaching endocrinology. Clin Endocrinol (Oxf) 2001; 55: 4: 537-42.

Masters K, Ellaway RH, Topps D, Archibald D, Hogue RJ. Mobile technologies in medical

education: AMEE Guide No. 105. Med Educ 2016; 38: 6: 537-49.

Goldberg LR, Crocombe LA. Advances in medical education and practice: role of massive open online courses. Adv Med Educ Pract 2017; 8: 603–9.

Work the World. Medical electives overseas: healthcare placements for medical students [Internet]. [cited January 15,2019]. Available from: https://www.worktheworld.com.au/medical-electives

Downloads

Published

2019-09-23

Issue

Section

Review Article