A Systematic Review of Chemical Inventory Required Medical Surveillance in the Context of Occupational Medicine

Authors

  • Pasinee Srisook Division of Occupational Medicine, Department of Community Medicine, Faculty of Medicine, Khon Kaen University.
  • Naesinee Chaiear Division of Occupational Medicine, Department of Community Medicine, Faculty of Medicine, Khon Kaen University.
  • Chatchai Ekpanyasakul Department of Preventive and Social Medicine, Faculty of Medicine, Srinakharinwirot University
  • Suda Vannaprasaht Department of Pharmacology, Faculty of Medicine, Khon Kaen University

Keywords:

สารเคมี, การเฝ้าระวังทางการแพทย์, การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ, Chemical, Medical surveillance, Systematic review

Abstract

การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบของรายการสารเคมีที่ต้องเฝ้าระวังทางการแพทย์เชิงอาชีวเวชศาสตร์

ภาสินี ศรีสุข1, เนสินี ไชยเอีย1*, ฉัตรชัย เอกปัญญาสกุล2, สุดา วรรณประสาท3

1 สาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

3 ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หลักการและวัตถุประสงค์:   สารเคมีอันตรายที่พนักงานสัมผัสจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังทางการแพทย์ในเชิงอาชีวเวชศาสตร์ แต่ละประเทศมีรายการที่แตกต่างกันและประเทศไทยมีจำนวนมากกว่า และเพื่อเป็นข้อมูลในการศึกษาแบบเดลฟายประยุกต์ (modified Delphi technique) ต่อไป

วิธีการศึกษา:   การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ (systematic review) สืบค้นวรรณกรรมจากฐานข้อมูลนานาชาติระหว่าง ค.ศ. 2000-2018 และคัดเลือกเฉพาะกฎหมาย  ระเบียบ แนวทางการปฏิบัติ / ข้อแนะนำ เกี่ยวกับการเฝ้าระวังทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี พบเอกสารจากการสืบค้นจำนวน 13 องค์กรจาก 11 ประเทศ ซึ่งถูกนำมาวิเคราะห์โดยแบ่งพิจารณาทบทวนเป็น 2 ส่วนตามภารกิจขององค์กรได้แก่ หน่วยงานที่มีภารกิจกำหนดกฎหมายเป็นหลัก และหน่วยงานที่มีการเผยแพร่ข้อมูลหรือเน้นสนับสนุนทางวิชาการ

ผลการศึกษา:   พบ 6 องค์กรที่ได้กำหนดรายชื่อสารเคมีที่ต้องเฝ้าระวังทางการแพทย์ ดังนี้ OSHA 14 กลุ่ม  AMPATH 31 กลุ่ม WHS 15 กลุ่ม WSHC 14 กลุ่ม OSH 35 กลุ่ม ประกาศกระทรวงแรงงานประเทศไทย 74 กลุ่ม  มีสารเคมีที่กำหนดตรงกันกับประเทศไทยตั้งแต่ 1-5 องค์กร จำนวน 33 กลุ่ม อาทิ  Benzene, Lead, Arsenic  และมีจำนวนสารเคมีที่มีปรากฏเฉพาะประเทศไทยกำหนด 36 กลุ่ม

สรุป:   จำนวนสารเคมีที่จำเป็นต้องเฝ้าระวังทางการแพทย์อยู่ระหว่าง 14 -74 กลุ่ม ซึ่งสารเคมีที่กำหนดตรงกันกับประเทศไทยตั้งแต่ 1-5 องค์กร พบว่าเป็นกลุ่มโลหะหนัก ไอระเหย และสารกำจัดศัตรูพืช

Rationale and objective: Hazardous chemical accessed need to be on medical surveillance, which were different in each country but outnumber in Thailand. So as to be information for studying modified Delphi technique.

Methodology : This was a systematic review , searching from international information between A.D. 2000 – 2018, focus on law/ rules/ guideline on medical surveillance for chemicals. Searching found the information from 13 organizations in 11 countries which analyzed by dividing into 2 parts due to mission : law formulation and information dissemination or academic supporting.

Results: Six organizations indicated the number of regulated chemical groups in bracket requiring medical surveillance included: OSHA (14), AMPATH (31), WHS (15), WSHC (14), OSH (35) and the Ministry of Labour Thailand (74) .There were 33 chemicals prescription matched by 1 – 5 organizations such as Benzene, Lead, Arsenic and there were 36 chemicals apparently only in Thailand.

Conclusion: The number of regulated chemical groups  requiring medical surveillance ranging from 14 – 74. The number of organization which matched with Thailand prescription ranging from 1 – 5 organizations matched with Thailand and the list for example were metals, fumigants and pesticides.

 

References

Occupational Safety and Health Administration. Medical screening and surveillance requirements in OSHA standards : A Guide [Online]2014.[cited Dec 8, 2016]. Available from: https://www.osha.gov/Publications/osha3162.pdf

Safe Work Australia. Health monitoring for exposure to hazardous chemicals-guide for persons conducting a business or undertaking [Online].2013[cited Apr 28, 2017]. Available from: https://bit.ly/2Of2sF9

Academic Model Providing Access to Healthcare. AMPATH Medical Surveillance Guideline. Pretoria, South Africa 2014.p.1-72.

Workplace Safety and Health Council. Workplace Safety and Health Guidelines Statutory Medical Examination (Singapore).[Online].2011[cited Sep 2, 2017] Available from: https://bit.ly/30VhscV

Department of Occupational Safety and Health Ministry of Human Resources Malaysia. Guidelines on medical surveillance (Use and Standard of Exposure of Chemicals Hazardous to Health).[Online].2001.[n.p.][cited Sep 2, 2017]. Available from: https://bit.ly/32MkKkr

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. แนวปฏิบัติการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงด้านเคมีและกายภาพจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการ มอก.2547-2555.กรุงเทพฯ:กระทรวงอุตสาหกรรม, 2555: 10-46.

สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. รายงานสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมปี 2557.นนทบุรี: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2558: 30-82.

แสงโฉม ศิริพานิช, พรรณนภา เหมือนผึ้ง. โรคพิษจากสารโลหะหนัก สรุปรายงานเฝ้าระวังโรค 2551. นนทบุรี: สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2552.

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. ข้อกำหนดการประเมินการสัมผัสสารเคมีอันตรายในสิ่งแวดล้อมของสถานที่ทำงาน มอก2536-2555.กรุงเทพฯ:กระทรวงอุตสาหกรรม; 2555.

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. การประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม มอก2535-2555. กรุงเทพฯ:กระทรวงอุตสาหกรรม; 2555.

กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อม ในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ.2556 ราชกิจจานุเบกษา 2556 เล่มที่ 130, ตอนที่ 113ก.(29 พฤศจิกายน 2556): 9-19.

พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 109, ตอนที่39 (6 เมษายน 2535):หน้า21.

ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่องกำหนดสารเคมีอันตรายที่ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง พศ.2552. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 126, ตอนพิเศษ 50 ง. (7เมษายน2552): 37-40.

กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีตรวจสุขภาพของลูกจ้าง และส่งผลการตรวจแต่พนักงานตรวจสอบแรงงาน พ.ศ.2547.ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 122, ตอนที่ 4 ก. (13 มกราคม 2548): 19-22.

2016 TLV Physical Agents Committee. Adopted Biological Exposure Determinants. In: America Conference of Governmental Industrial Hygienists. 2016 Threshold limit values for chemical substances and physical agents and biological exposure indices.Cincinnati: The Association; 2016: 109-23.

Health and Safety Authority. Biological monitoring guidelines.[Online].Dublin;2011:7-15 [cited Sep 2, 2017]. Available from: https://bit.ly/2M9C4Ks

Ausschuss für Gefahrstoffe. Biologische Grenzwerte (BGW) Technische Regeln für Gefahrstoffe (TRGS 903). [Online]. [n.p.][cited Sep 2, 2017].2013.p.364–72. Available from: https://bit.ly/2XYAS3q

WorkSafe New Zealand. Special guide: Workplace standards and biological exposure indices [Online]. 2016.[n.p.] [cited Sep 2, 2017]. Available from: https://bit.ly/2lkoPeG

Centers for Disease Control and Prevention. Specific Medical Test or Examinations Published in The Literature for OSHA-regulated Substances[Online].2014 [cited Jun 15, 2017]. Available from: https://www.cdc.gov/niosh/docs/2005-110/pdfs/2005-110.pdf

The National Institute for Occupational Safety and Health. CDC - NIOSH Publications and Products -Occupational Health Guidelines for Chemical Hazards [Online]. [cited Sep 2, 2017]. Available from: https://www.cdc.gov/niosh/docs/81-123/default.html

National Academy of Sciences. Occupational Health and Workplace Monitoring at Chemical Agent Disposal Facilities.Washington.n.p.-:2001.

Environmental Health & Safety Office.George Mason University Medical Surveillance Plan.Fairfax,Virginia:The Institute; 2013.

Government of Western Australia Department of Commerce. Organophosphates: Health surveillance Guide for employers[Online].2014.[cited Feb 24, 2017]. Available from: https://bit.ly/2lAFTx2

WorkSafe New Zealand. Biological Exposure Indices (BEI).9th ed. Wellington: The Institute;2018.

LaDou J, Harrison J. CURRENT Occupational and Environmental Medicine.5thed. SanFrancisco :n.p.: 2014.

The National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).Occupational Health Guidelines for Chemical Hazards [Internet].United States: The National Institute [updated 2014,June 6; cited June 6, 2017]. Available form: https://www.cdc.gov/niosh/docs/81-123/default.html

Larry K. Role of biomarkers of exposure in the assessment of health risks. Toxicology Letters 1995; 77: 31-8.

Cocker J, Jones K, Peter MJ Bosb. Biological monitoring guidance values for chemical incidents. Toxicology Letters 2014; 231: 324-7.

Daniela Fernandes, Márcia Meneses, Paula Albuquerque, Miguel Barros. Environmental monitoring and biomarkers of exposure to styrene in chemical industry. SAÚDE & TECNOLOGIA 2017;18: 23-9.

German Social Accident Insurance, editor. Guidelines for occupational medical examination. 2nd ed.n.p.: German Social Accident Insurance; 2014.

Lee RV. Metals and Metalloids. In: Hamilton A, Hardy HL, Harbison RD, editors. Hamilton & Hardy's Industrial Toxicology. 6th ed. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc; 2015.

Brunckner JV, Anand SS, Warren AD.Toxic Effects of Solvents and Vapors. In: Curtis D. Klaassen, editors. Casarett & Doull’s toxicology the basic science of poisons. 8th ed. United States: McGraw-Hill Education; 2013: 1163-256.

Ministry of Manpower, Singapore. Workplace Safety and Health (Medical Examinations) Regulations 2011[online]. 2011. [cited Sep 30,2019]. Available from: https://sso.agc.gov.sg/SL/WSHA2006-S516-2011

กรมโรงงานอุตสาหกรรม.ข้อมูลการประกอบการวัตถุอันตราย [ออนไลน์].กรุงเทพฯ; 2554 [อ้างเมื่อ 1 กันยายน 2562]. จาก https://bit.ly/2o3A7VH.

สายพิรุณ ตั้งยศถากิจกุล, ธีระศิษฎ์ เฉินบำรุง. ความเหมาะสมในการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงทางด้านเคมีและด้าน กายภาพ ในสถานประกอบการในจังหวัดระยอง และรายละเอียดในการรายงานผลตรวจสุขภาพต่อเจ้าพนักงานตรวจ แรงงาน. ความปลอดภัยและสุขภาพ 2561; 3: 35-46.

เนสินี ไชยเอีย.การเฝ้าระวังทางการแพทย์ในเชิงอาชีวเวชศาสตร์ใน: เนสินี ไชยเอีย.การบริการอาชีวอนามัยและประเด็นอาชีวเวชศาสตร์ที่สำคัญ. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา; 2561: 135-82.

Downloads

Published

2020-04-09

Issue

Section

Original Articles