Association between Nutrition Literacy and the Consumption of Snacks and Sweetened Beverages among Undergraduate Students in the Health Sciences Faculties of Khon Kaen University

Authors

  • Kawinda Visedkaew Master of Public Health Student in Nutrition for Health Program, Faculty of Public Health, Khon Kaen University
  • Benja Muktabhant Research Group on Prevention and Control of Diabetes in the Northeast of Thailand,

Keywords:

ความรอบรู้ด้านโภชนาการ, ขนม, เครื่องดื่มรสหวาน, นักศึกษา, Nutrition literacy, snack, sweetened beverage, student

Abstract

ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านโภชนาการกับการบริโภคขนมและเครื่องดื่มรสหวานของนักศึกษาระดับปริญญาตรีกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

กวินดา วิเศษแก้ว1,เบญจา มุกตพันธุ์2  

1นักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร์เพื่อสุขภาพ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 กลุ่มวิจัยการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หลักการและวัตถุประสงค์: ความรอบรู้ด้านโภชนาการส่งผลถึงความสามารถในการเลือกบริโภคขนมและเครื่องดื่มที่เหมาะสม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านโภชนาการกับการบริโภคขนมและเครื่องดื่มรสหวานของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์ภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่าง 304 คน เก็บข้อมูลลักษณะส่วนบุคคล ความรอบรู้ด้านโภชนาการ และการบริโภคขนมและเครื่องดื่มรสหวานโดยใช้แบบสอบถามแบบให้ตอบเอง คำนวณหาปริมาณพลังงาน น้ำตาล ไขมัน และโซเดียม ที่ได้รับโดยใช้โปรแกรม INMUCAL-N version 4.0 วิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติ Multiple Linear Regression

ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีความรอบรู้ด้านโภชนาการอยู่ในระดับ สูง ปานกลาง และ ต่ำ ร้อยละ 0.3, 73.7 และ 26.0 ตามลำดับ กลุ่มตัวอย่างได้รับพลังงานจากการบริโภคขนมและเครื่องดื่ม 388 กิโลแคลอรีต่อวัน ไขมันและน้ำตาลได้รับ 14.4 และ 32.2 กรัมต่อวัน และโซเดียมได้รับ 262.8 มิลลิกรัมต่อวัน คะแนนความรอบรู้ด้านทักษะการสื่อสารด้านโภชนาการมีความสัมพันธ์ทางลบกับพลังงานที่ได้รับจากการบริโภคขนมและเครื่องดื่มรสหวานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (coef. = -13.59, p = 0.04)

สรุป: นักศึกษาที่มีความรอบรู้เกี่ยวกับทักษะการสื่อสารด้านโภชนาการระดับดีจะได้รับพลังงานจากการบริโภคขนมและเครื่องดื่มรสหวานในปริมาณน้อย ดังนั้นควรส่งเสริมทักษะการสื่อสารด้านโภชนาการที่เกี่ยวกับการบริโภคขนมและเครื่องดื่มของนักศึกษา เพื่อให้เลือกบริโภคขนมและเครื่องดื่มที่เหมาะสมต่อไป

Background and Objectives: Nutrition literacy is one of the factors that affect the ability to choose the right snacks and drinks. This study aimed to analyze the association between ‘nutrition literacy’ and the consumption of snacks and sweetened beverages (SSBs) among undergraduate students of the health sciences faculties of Khon Kaen University.

Methods: A total of 304 students participated in this cross-sectional analytic study. A self-response questionnaire was used to collect data including general information, items of ‘nutrition literacy’ and SSBs consumption. Energy, sugar, fat and sodium intakes were calculated by the INMUCAL-N Version 4.0 Program. The association between nutrition literacy scores and energy intake from SSBs consumption was determined using multiple linear regression.

Results: The ‘Nutrition literacy’ of the subjects  were classified as high, moderate and low levels accounting for 0.3, 73.7 and 26.0%,  respectively. The energy intake through SSBs consumption was 388 kcal/day. The intake of fat and sugar from SSBs amounted to 14.4 and 32.2 g/day, and sodium 262.8 mg/day. According to a multiple regression analysis the score of communication skill of ‘nutrition literacy’ was statistically significantly and negatively correlated with the energy intake from SSBs (coef.= -13.16, p = 0.04).

Conclusion: Those students who have higher score of communication skill of nutrition literacy have lower energy intakes from SSBs. Promoting communication skill regarding the consumption of SSBs among the students should be encouraged for healthy snacks and beverages choosing. 

References

World Health Organization. Non-communicable diseases [internet]. 2018. [cited 2018 Nov 13]. Available from: http://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/noncommunicable-diseases.

สุจิตต์ สาลีพันธ์, สายสม สุขใจ, บรรณาธิการ. สุขภาพดีเริ่มที่อาหารลดหวานมันเค็ม เติมเต็มผัก ผลไม้ เพิ่มขึ้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี:โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2554.

Cetthakrikul N, Phulkerd S, Jaichuen N, Sacks G, Tangcharoensathien V. Assessment of the stated policies of prominent food companies related to obesity and non-communicable disease (NCD) prevention in Thailand. Global Health 2019; 15: 12.

Kriengsinyos W, Chan P, Amarra MSV. Consumption and sources of added sugar in Thailand: a review. Asia Pac J Clin Nutr 2018; 27: 262-83.

นันทยา จงใจเทศ, ภัทธิรา ยิ่งเลิศรัตนะกุล, ปิยนันท์ เผ่าม่วง, วารีทิพย์ พึ่งพันธ์. ปริมาณไขมันทรานส์ในอาหารอบและทอด. นนทบุรี: กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2550.

Ponzo V, Ganzit GP, Soldati L, De Carli L, Fanzola I, Maiandi M, et al. Blood pressure and sodium intake from snacks in adolescents. Eur J Clin Nutr 2015; 69: 681-6.

วันทนีย์ เกรียงสินยศ. ลดโซเดียมยืดชีวิต. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2555.

Nguyen H, Wismer WV. A comparison of sensory attribute profiles and liking between regular and sodium-reduced food products. Food Res Int 2019; 123: 631-41.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. สรุปสำหรับผู้บริหารการสำรวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากร พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: กองสถิติสังคม สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2561.

สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือรณรงค์ให้ความรู้เรื่องสัญลักษณ์โภชนาการ “ทางเลือกสุขภาพ” สำหรับบุคคลทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข, 2559.

Institute of Medicine. Health Literacy: A Prescription to End Confusion. Washington, DC: National Academies Press, 2004.

Cullen T, Hatch J, Martin W, Higgins JW, Sheppard R. Food literacy: Definition and framework for action. Can J Diet Pract Res 2015; 76: 140–5.

Silk KJ, Sherry J, Winn B, Keesecker N, Horodynski MA, Sayir A. Increasing nutrition literacy: Testing the effectiveness of print, web site, and game modalities. J Nutr Educ Behav 2008; 40: 3-10.

Poelman MP, Dijkstra SC, Sponselee H, Kamphuis CBM, Battjes-Fries MCE, Gillebaart M, Seidell JC. Towards the measurement of food literacy with respect to healthy eating: the development and validation of the selfperceived food literacy scale among anadult sample in the Netherlands. Int J Behav Nutr Phy Act 2018; 15: 54.

Liao LL, Lai IJ. Construction of nutrition literacy indicators for college students in Taiwan: A Delphi consensus study. J Nutr Educ Behav 2017; 49: 734-42.

Anding JD, Suminski RR. Boss L. Dietary intake, body mass index, exercise, and alcohol: Are college women following the dietary guidelines for Americans?. J Am Coll Health 2001; 49: 167–171.

Hiza H, Gerrior SA. Using the Interactive Healthy Eating Index to assess the quality of college students’ diets. Fam Econ Rev 2002; 14: 3–12.

Racette SB,Deusinger SS, Strube MJ, Highstein GR, Deusinger RH. Weight changes, exercise, and dietary patterns during freshman and sophomore years of college. J Am Coll Health 2005; 53: 245–51.

Cohen, J. Statistical power analysis for the behavioral sciences (2nd ed.). Hillsdale, NJ: Lawrence Earlbaum Associates, 1988.

เบญจมาศ เผยกลาง, เบญจา มุกตพันธุ์. ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและกิจกรรมทางกายของหญิงวัยกลางคน อาศัยอยู่ที่ตำบลโตนด อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2562; 12: 51-61.

Nikhom T. Multiple regression analysis sample size calculation [internet]. 2017. [cited Jul 1, 2019].Available from:https://home.kku.ac.th/nikom/sample_size_multiple_regression_2560.pdf.

Bloom B, Madaus GF, Hastings JT. Handbook on formative and summative evaluation of student learning. New York: McGraw-Hill, 1971.

พเยาว์ พงษ์ศักดิ์ชาติ, ประไพจิตร์ โสมภีร์, อาทิตยา แก้วน้อย, กนกกาญจน์ เมฆอนันต์ธวัช. ความรอบรู้ทางสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพตามภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2562; 28: 20-32.

ศิริวรรณ ชอบธรรมสกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วนของนักศึกษาปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารสหวิทยาการวิจัย 2562; 8: 116-23.

กรกนก ลัธธนันท์, จันทร์เพ็ญ นิลวัชรมณี. ความรอบรู้ด้านสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี 2562; 35: 277-89.

วัชราพร เชยสุวรรณ, อมลวรรณ ตันแสนทวี. ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนพยาบาลศาสตร์วิทยาลัย พยาบาลกองทัพเรือ. วารสารแพทย์นาวี 2561; 45: 250-66.

มัณทนาวดี เมธาพัฒนะ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาพยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2560; 25: 20-9.

สุวลี โล่วิรกรณ์, เบญจา มุกตพันธุ์, ภัทระ แสนไชยสุริยา, ณิตชาธร ภาโนมัย. รูปแบบการบริโภคอาหารของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 ก่อนและหลังเรียนวิชาโภชนสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2555; 5: 77-86.

สุวลี โล่วิรกรณ์, เบญจา มุกตพันธุ์, ณิตชาธร ภาโนมัย, จิดาภา พลางวัน, ศิขิน รัตนทิพย์. การบริโภคเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ของนักศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2556; 6: 62-8.

รยาตรี ภูวชินพงศ์, สุวลี โล่วิรกรณ์, พิษณุ อุตตมะเวทิน. พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีแคลเซียมของนักศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิยาลัยขอนแก่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2560; 10: 23-31.

วสุนธรี เสรีสุชาติ, วิไลลักษณ์ ศรีสุระ, ณัฎฐิรา ทองบัวศิริไล. คู่มือจำแนกอาหาร ขนม นม และเครื่องดื่ม ตามมาตรฐานโภชนาการสำหรับเด็กอายุ 3-15 ปี (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2560.

Promdee L. Trakulthong J. Kangwantrakul W. Sucrose consumption in Thai undergraduate students. Asia Pac J Clin Nutr 2007; 16: 22-6.

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ยุทธศาสตร์ลดการบริโภคเกลือและโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559-2568. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2559.

Carrara A, Schulz PJ. The role of health literacy in predicting adherence to nutritional recommendations: A systematic review. Patient Educ Couns 2018; 101: 16-24.

นาตาลี บัวงาม, ธนัญญา ฮวบสมบูรณ์, ภัทรภร ประภาลิมรังสี, อารีรัตน์ บุญส่ง, ศิวพร เกาะเกตุ, กมลพรรณ วัฒนากร. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูงของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี 2562; 2: 45-61.

อภิญญา อุตระชัย, กริช เรืองไชย. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ พฤติกรรมการบริโภคขนมและเครื่องดื่มรสหวานและภาวะโภชนาการของในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม 2561; (ฉบับการประชุมวิชาการครบรอบ 25 ปี): 95-102.

Lee CK, Liao LL, Lai IJ, Chang, LC. Effects of a healthy-eater self-schema and nutrition literacy on healthy-eating behaviors among Taiwanese college students. Health Promot Int 2017; 34: 1-8.

ชลิดา เลื่อมใสสุข, วัชรี พืชผล. ความรู้ทางโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. วารสารปัญญาภิวัฒน์ 2561; 10: 73-83.

Downloads

Published

2020-04-09

Issue

Section

Original Articles