Accuracy of Multi-parametric Magnetic Resonance Imaging for Diagnosis of Prostate Cancer

Authors

  • Chalida Aphinives Department of Radiology, Faculty of Medicine, Khon Kaen University
  • Chayanon Chinporncharoenpong Department of Radiology, Faculty of Medicine, Khon Kaen University
  • Kulyada Somsap Department of Radiology, Faculty of Medicine, Khon Kaen University
  • Vallop Laopaiboon Department of Radiology, Faculty of Medicine, Khon Kaen University

Abstract

ความแม่นยำของการตรวจวินิจฉัยมะเร็งต่อมลูกหมากด้วยเครื่องตรวจคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าด้วยวิธีการหลายพารามิเตอร์

ชลิดา อภินิเวศ*, ชยานนท์ ชินพรเจริญพงษ์, กุลญาดา สมทรัพย์, วัลลภ เหล่าไพบูลย์

ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

Objective: To assess the diagnostic accuracy of magnetic resonance imaging (MRI) for prostate cancer with multiple parameters.

Methods: Patients who underwent both MRI and transrectal ultrasound-guided biopsy from July 2012 to August 2014, were reviewed retrospectively.  Multiple parameters were assessed to determine the accuracy of MRI for prostate cancer; the apparent diffusion coefficient (ADC), dynamic contrast enhanced MRI (DCE-MRI), and the Cho/cit and (Cho+creat)/cit ratios.  The areas under the receiver operating characteristic curves (AUC) were used to evaluate the diagnostic accuracy of metabolic ratios.

Results: Thirty-six lesions from 28 patients were analyzed.  Malignant lesions at the peripheral zone showed significantly lower ADCs than benign lesions (p < 0.01).  If lesion size was 1 cm or larger, the (Cho+creat)/cit ratio was significantly higher (p < 0.01).  The ADCs had a high specificity of 87.5%, an accuracy of 77.8%, and AUC of 0.68.  DCE-MRI had high specificity of 91.7%, accuracy of 83.3%, and an AUC 0.78. The Cho/cit ratios showed a high sensitivity of 91.7%, but low specificity of 54.2%.  The greatest AUC was 0.85 when the DCE-MRI was combined with the Cho/cit ratio, giving an accuracy of 83.3%.  No significant improvement was established, however, when all 3 parameters were combined together.

Conclusion: DCE-MRI and ADC had greater diagnostic accuracy than MR spectroscopy (MRS).  Combined parameters improved specificity for prostate cancer lesions.

Keywords: Diagnostic accuracy; Magnetic resonance imaging; Prostate cancer; Sensitivity; Specificity; Apparent diffusion coefficient, dynamic contrast enhanced MRI; Cho/cit  ratio, (Cho+creat)/cit ratio .

 

วัตถุประสงค์:   เพื่อศึกษาความแม่นยำของการตรวจวินิจฉัยมะเร็งต่อมลูกหมากด้วยเครื่องตรวจคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าด้วยวิธีการหลายพารามิเตอร์

วิธีการศึกษา:  เป็นการศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องตรวจคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ร่วมกับการเจาะตรวจชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยาผ่านเครื่องตรวจคลื่นเสียงทางทวารหนัก ระหว่างเดือน กรกฎาคม 2555 ถึง สิงหาคม 2557 ภาพการตรวจด้วยคลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยหลายพารามิเตอร์ ได้แก่ ADC, DCE-MRI, Cho/cit ratio และ (Cho+creat)/cit ratio แล้วประเมินความแม่นยำในการตรวจวินิจฉัยโดยอาศัย AUC

ผลการศึกษา:  การศึกษานี้ครอบคลุม 36 รอยโรคจากผู้ป่วย 28 ราย รอยโรคที่เป็นมะเร็งใน peripheral zone ให้ค่า ADC ต่ำกว่ารอยโรคที่ไม่ใช่มะเร็งอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.01) หากรอยโรคนั้นมีขนาดตั้งแต่ 1 ซม. ขึ้นไป จะให้ค่า (Cho+creat)/cit ratio สูงกว่าอEย่างมีนัยสำคัญ พารามิเตอร์ ADC มีความจำเพาะสูงถึงร้อยละ 87.5 ความแม่นยำร้อยละ 77.8 และ AUC 0.68 เช่นเดียวกันกับ พารามิเตอร์ DCE-MRI มีความจำเพาะสูงถึงร้อยละ 91.7 ความแม่นยำร้อยละ 83.3 และ AUC 0.78 พารามิเตอร์ Cho/cit ratio มีความจำเพาะสูงถึง ร้อยละ 91.7 แต่ความแม่นยำต่ำเพียงร้อยละ 54.2 เมื่อนำพารามิเตอร์ DCE-MRI มาร่วมกับ Cho/cit ratio จะให้ค่า AUC สูงที่สุดที่ 0.85 และมีความแม่นยำถึงร้อยละ 83.3 อย่างไรก็ตามการนำพารามิเตอร์ทั้งสามมาใช้ร่วมกัน กลับไม่ได้เพิ่มประสิทธิภาพอย่างมีนัยสำคัญ

สรุป:  การตรวจด้วย DCE-MRI ร่วมกับ ADC มีความแม่นยำในการตรวจวินิจฉัยมะเร็งต่อมลูกหมาก สูงกว่าการตรวจด้วย MRS

คำสำคัญ :  มะเร็งต่อมลูกหมาก; การตรวจด้วยเครื่องสะท้อนสนามแม่เหล็ก; ความแม่นยำในการวินิจฉัย

Downloads

Published

2021-01-21

Issue

Section

Original Articles