การผ่าตัดต้อกระจกและแกะพังผืดที่มุมตาในผู้ป่วยต้อหินมุมปิดเฉียบพลันที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา: รายงานผู้ป่วย

ผู้แต่ง

  • เดชาทร อาสนทอง โรงพยาบาลศรีสะเกษ

บทคัดย่อ

โรคต้อหินมุมปิดเฉียบพลัน (Acute angle closure) เกิดจากการที่น้ำในช่องหน้าลูกตาไม่สามารถไหลออกทาง Trabecular meshwork ได้ ทำให้เกิดความดันตาสูงขึ้นเฉียบพลัน ผู้ป่วยจะมีอาการปวดตาหรือปวดศีรษะขึ้นมาทันที มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน มองเห็นภาพมัวลง การรักษาทำได้โดยการให้ยาลดความดันตาร่วมกับการยิงเลเซอร์ที่มุมตา (Peripheral iridotomy) ในกลุ่มที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา (refractory acute angle closure) การผ่าตัดต้อกระจกและแกะพังผืดที่มุมตาเป็นการผ่าตัดทางเลือกหนึ่งที่มีประสิทธิภาพสามารถลดความดันตาลงได้ทั้งระยะสั้นและระยะยาว มีภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่าการผ่าตัดลดความดันตาชนิดอื่น

ประวัติผู้แต่ง

เดชาทร อาสนทอง, โรงพยาบาลศรีสะเกษ

กลุ่มงานจักษุวิทยา

เอกสารอ้างอิง

ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์. โรคต้อหิน. ใน: สุดารัตน์ ใหญ่สว่าง, ศักดิ์ชัย วงศกิตติรักษ์, สมสงวน ศรีบุรินทร์, บรรณาธิการ. ตำราจักษุวิทยา เล่ม 1. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย; 2555. หน้า 222-36.

อังคณา เมธีไตรรัตน์, รจิต ตู้จินดา. โรคต้อหิน. ใน: อติพร ตวงทอง, วณิชา ชื่นกองแก้ว, อภิชาติ สิงคาลวณิช, บรรณาธิการ. ความรู้พื้นฐานทางจักษุวิทยา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2558. หน้า 134-52.

สุขุมาล ธนไพศาล, ภาวสุทธิ์ สุภาสัย. ภาวะต้อหินมุมปิดเฉียบพลัน. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2563;35(6):777-83.

Tham YC, Li X, Wong TY, Quigley HA, Aung T, Cheng CY. Global prevalence of glaucoma and projections of glaucoma burden through 2040: a systematic review

and meta-analysis. Ophthalmology. 2014;121(11):2081–90.

เดชาทร อาสนทอง. ความชุกของผู้ป่วยโรคต้อหินในโรงพยาบาลศรีสะเกษเนื่องในวันต้อหินโลก. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์. 2020;35(3):749-56.

Anderson DR, Jin JC, Wright MM. The physiologic characteristics of relative pupillary block. Am J Ophthalmol. 1991 Mar 15;111(3):344-50.

European Glaucoma Society Terminology and Guidelines for Glaucoma, 4th Edition – Chapter 3 : Treatment principles and options Supported by the EGS Foundation. Br J Ophthalmol. 2017;101(6):130-95.

Husain R, Gazzard G, Aung T, Chen Y, Padmanabhan V, Oen FT, Seah SK, Hoh ST. Initial management of acute primary angle closure: a randomized trial comparing phacoemulsification with laser peripheral iridotomy. Ophthalmology. 2012;119(11):2274-81. doi:10.1016/j.ophtha.2012.06.015.

Lam DS, Leung DY, Tham CC, Li FC, Kwong YY, Chiu TY, Fan DS. Randomized trial of early phacoemulsification versus peripheral iridotomy to prevent intraocular pressure rise after acute primary angle closure. Ophthalmology. 2008;115(7):1134-40. doi:10.1016/j.ophtha.2007.10.033.

Hou X, Hu D, Cui Z, Zhou J, Cai L, Wang Y. Small-incision phacotrabeculectomy versus phacoemulsification in refractory acute primary angle closure with cataract. BMC Ophthalmol. 2015 Jul 29;15:88. doi:10.1186/s12886-015-0074-3.

Hansapinyo L, Choy BNK, Lai JSM, Tham CC. Phacoemulsification versus phacotrabeculectomy in primary angle-closure glaucoma with cataract: long-term clinical outcomes. J Glaucoma. 2020;29(1):15-23. doi:10.1097/IJG.0000000000001397.

Yu JG, Zhao F, Xiang Y. Phacoemulsification with goniosynechialysis versus phacoemulsification alone in angle-closure glaucoma: a meta-analysis of randomized controlled trials. J Ophthalmol. 2021 Feb 15;2021:8831479. doi:10.1155/2021/8831479.

Teekhasaenee C, Ritch R. Combined phacoemulsification and goniosynechialysis for uncontrolled chronic angle-closure glaucoma after acute angle-closure glaucoma. Ophthalmology. 1999;106(4):669-75. doi:10.1016/S0161-6420(99)90149-5.

Wanichwecharungruang B, Phumratprapin C, Kongsomboon K, Seresirikachorn K. Real-world surgical outcomes of primary angle-closure glaucoma. Clin Ophthalmol. 2021 Jun 29;15:2823-33. doi:10.2147/OPTH.S315747.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-04-30