กระบวนการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกในระยะฉุกเฉิน : บทบาทของพยาบาลวิชาชีพแผนกฉุกเฉิน

ผู้แต่ง

  • รพีพัฒน์ รักกุศล มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

บทคัดย่อ

ไฟไหม้น้ำร้อนลวกเป็นอุบัติเหตุที่พบเจอได้บ่อยในชีวิตประจำวัน และการดูแลผู้ป่วยที่มีแผลไฟไหม้น้ำร้อนในระยะแรกนั้นเป็นบทบาทหนึ่งที่สำคัญของพยาบาลวิชาชีพในห้องฉุกเฉินอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ วัตถุประสงค์ของบทความนี้เพื่อนำเสนอบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยที่มีแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกในระยะฉุกเฉิน ตามกระบวนการพยาบาล ตั้งแต่กระบวนการประเมินคัดแยกผู้ป่วยตามระดับความรุนแรง การตั้งข้อวินิจฉัยการพยาบาล การวางแผน การให้การพยาบาล และการประเมินผลการให้การพยาบาลที่เกิดขึ้นก่อนการจำหน่ายผู้ป่วยออกจากห้องฉุกเฉินอย่างมีประสิทธิภาพ

ประวัติผู้แต่ง

รพีพัฒน์ รักกุศล, มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

คณะพยาบาลศาสตร์

เอกสารอ้างอิง

WHO. Burns 2018.[Internet]. 2018 [cited 2022 July 10]. Available from: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/burns

Community of Practice (CoP) Burn Nurses of Thailand. Epidemiological report of burn patients in the fiscal year 2019. Thai journal of burn and wound healing 2020 ; 4 : 2-15.

จินตนา ประสานศักดิ์, บุษบา สมใจวงษ์. ปัจจัยคัดสรรที่ทำนายความปวดในผู้ป่วยแผลไหม้. วารสารสภาการพยาบาล 2563; 35 : 36-50.

Bayuo J. Pain management in geriatric burn patients: a scoping review of strategies and key issues. Eur. Burn J 2021; 2 : 184–93.

รัฐพงษ์ บุรีวงษ์, บรรณาธิการ. MOPH ED TRIAGE. นนทบุรี:กรมการแพทย์; 2561.

สุรัตน์ สุขสว่าง. พยาบาลคัดแยกผู้ป่วย: จากกระบวนการหลักสู่การปฏิบัติ. วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ 2561 ; 5 : 1-14.

Yastı AC, Senel E, Saydam M, Özok G, Çoruh A, Yorgancı K. Guideline and treatment algorithm for burn injuries. Ulus Travma Acil Cerrahi Derg 2015 ; 21 : 79-89.

Moore RA, Waheed A, Burns B. Rule of nines. StatPearls [Internet]. 2022[cited 2022 July 5]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK513287/

Giretzlehner M, Ganitzer I, Haller H. Technical and medical aspects of burn size assessment and documentation. Medicina 2021 ; 57 : 1-16.

Avci V, Kocak OF. Treatment algorithm in 960 pediatric burn cases: A review of etiology and epidemiology. Pakistan journal of medical sciences 2018 ; 34 :1185-90.

Marc GJ, Margriet EV, Mashkoor AC, Kevin KC, Nicole SG, Sarvesh L. Burn injury. Disease primers 2020 ; 6 : 1-25.

Cheah AKW, Kangkorn T, Tan EH, Loo ML, Chong SJ. Validation study on a three dimensional burn estimation smart-phone application: accurate, free and fast?. Burns & Trauma 2018 ; 6 : 1-6.

Meevassana J, Sumonsriwarankun P, Suwajo P, Nilprapha K, Promniyom P, Iamphongsai S, et al. 3D PED BURN app: A precise and easy‐to‐use pediatric 3D burn surface area calculation tool. Health Sci Rep ; 5 : 1-7.

สุนิสา กังวานตระกูล, ฐิติมา นาสมตรึก, เพียงเพ็ญ บุษมงคล. การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกในการดูแลผู้ป่วยแผลไหม้ด้วยภาวะโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี. วารสารแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี 2564 ; 29 : 139-52.

จิราวดี ชุมศรี. การพยาบาลผู้ป่วยแผลไหม้ และภาวะสูดสำลักควัน : กรณีศึกษาเปรียบเทียบ 2 ราย. วารสารสำนักสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น 2563 ; 2 : 247-64.

Ronald MS, Michael FR, Sharon MH. ATLS Advanced Trauma Life Support 10th Edition Student Course Manual. 10thed. United States of America: American college of surgeons ; 2018.

ฉลวย เหลือบรรจง, เนตรนภิศ จินดากร. แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก. วารสารการพยาบาลและการศึกษา 2560 ; 10 : 14-22.

Kim H, Shin S, & Han D. Review of history of basic principles of burn wound management. Medicina [internet]. 2022 [2022 June 20]. Available from: https://www.mdpi.com/1648-9144/58/3/400

Griggs C, Goverman J, Bittner EA, Levi B. Sedation and pain management in burn patients. Clinics in plastic surgery 2017 ; 44 : 535-40.

Caceres-Jerez LE, Gomezese-Ribero OF, Reyes-Cardenas LI, Vera-Campos JA, Guzman-Rueda VA, Azar-Villalobos JP, et al. Management of acute pain in extensive burn injury: nonsystematic review of the literature. Colombian Journal of Anesthesiology 2018 ; 46 : 49-54.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-09-04