กระท่อม : สมุนไพรในตำนาน คุณค่าอยู่ที่การนำไปใช้

ผู้แต่ง

  • ณัฐรดา บุรุษเลี่ยม โรงพยาบาลชลบุรี

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันเป็นที่ทราบกันว่าได้มีการพิจารณาผ่านรัฐสภาและมีมติปลดล็อกกระท่อมออกจากบัญชียาเสพติดประเภทที่ 5 โดยมีผลตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2564 ที่ผ่านมา ทำให้เกิดกระแสความสนใจขึ้นเป็นวงกว้างทั้งในส่วนของผู้ผลิตและผู้บริโภคทำให้ประชาชนทั่วไปสามารถปลูก หรือซื้อ ขาย ใบสด ที่ไม่ได้ปรุงหรือทำเป็นอาหารได้โดยไม่ผิดกฎหมาย และด้วยสรรพคุณทางยาของกระท่อม จึงมีการใช้แบบภูมิปัญญาดั้งเดิมตามวิถีของคนในชุมชน โดยเฉพาะทางภาคใต้ของประเทศไทย เนื่องจากเป็นพืชพื้นถิ่นที่ขึ้นในภาคใต้โดยธรรมชาติ โดยการนำใบกระท่อมสดมาเคี้ยว (นำใบสดมาลอกก้านใบออก โดยเคี้ยวเหลือแต่กาก แล้วคายออก ดื่มน้ำตาม) เพื่อกระตุ้นประสิทธิภาพของการทำงานเป็นหลัก การกินใบกระท่อมจะเลือกใช้ใบกลางอ่อนถึงกลางแก่ ไม่กินยอด ยามีฤทธิ์เย็น มีรสฝาดเผื่อน เมาเบื่อขม ทำให้กินแล้วทนแดดได้นาน การใช้เป็นยาของแพทย์แผนไทยจะใช้ทุกส่วน เพราะมีการออกฤทธิ์ที่ต่างกัน

ประวัติผู้แต่ง

ณัฐรดา บุรุษเลี่ยม, โรงพยาบาลชลบุรี

กลุ่มงานแพทย์แผนไทย

เอกสารอ้างอิง

วิชาญ ทรายอ่อน. พืชกระท่อม. สำนักวิชาการ หอสมุดรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://library.parliament.go.th/th/radioscript-rr2564-jun6

สาวิตรี อัษณางค์กรชัย, ดาริกา ใสงาม, สมสมร ชิตตระการ, อาภา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา, จุไรทิพย์ หวังสินทวีกุล. บทสรุปของพืชกระท่อม [อินเทอร์เน็ต]. หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2558 [เข้าถึงเมื่อ 22 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://cads.in.th/cads/media/upload/1594881548-Kratom%20Final.pdf

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. รู้จักสายพันธุ์กระท่อมกับการใช้กระท่อมตามภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านและการใช้แบบพื้นบ้าน [อินเทอร์เน็ต]. 2021 [เข้าถึงเมื่อ 23 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.facebook.com/175702865780858/posts/6881398618544549/.

ปรางรุจี นาคอิ่ม. สรุปการประชุม “กระท่อม พืชยาทางการแพทย์แผนไทย” 6-9-2564 [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.srisangworn.go.th/depart/pharmacy/ข่าว/สรุปการประชุม%20กระท่อม%20พืชยาทางการแพทย์แผนไทย.pdf

สาวิตรี อัษณางค์กรชัย, อาภา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา, บรรณาธิการ. พืชกระท่อมในสังคมไทย.

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม, กรุงเทพฯ: บางกอกบล๊อก; 2548.

จุไรทิพย์ หวังสินทวีกุล. พืชกระท่อม (Kratom) [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: file:///C:/Users/BowBow/Downloads/Kratom%20CPE%20juraithip%2015%20March%202017---%20(1).pdf

สมาคมเภสัชกรรมไทยโบราณแห่งประเทศไทย. คัมภีร์แพทย์ไทยแผนโบราณ เล่ม 1 – 3 ขุนโสภิต บรรณลักษณ์ (อำพัน กิตติขจร) วัดสามพระยา เขตพระนคร.

ศุภชัย ติยวรนันท์, ชยันต์ พิเชียรสุนทร. ประมวลตำรับยา วัดราชโอรสาราม ฉบับรวมศิลาจารึก 5 แผ่น ที่ทำแทนแผ่นที่สูญหาย. พิพิธภัณฑ์เภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2558.

พระธาตรี อุปปลวณโณ. ประมวลตำรายา อโรคยาศาลวัดป่ากุดฉนวนอุดมพร ฉบับสงวนเก็บรักษาฯ. อโรคยาศาลวัดป่ากุดฉนวนอุดมพร: ริช แอนด์ ซีมลี; 2557.

ณัฐรดา บุรุษเลี่ยม. คุณค่าสมุนไพร ภูมิปัญญาไทย 4 ภาค [ปกิณกะ]. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี 2563;45:65-74.

ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ขมิ้นอ้อย [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 23 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://apps.phar.ubu.ac.th/thaicrudedrug/main.php?action=viewpage&pid=151

ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ทับทิม [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 23 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://www.phargarden.com/main.php?action=viewpage&pid=230

MedThai. เบญกานี สรรพคุณและประโยชน์ของลูกเบญกานี 15 ข้อ ! [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 23 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://medthai.com/เบญกานี/#google_vignette

มติชนสุดสัปดาห์. กระท่อม-กัญชา ภูมิปัญญาบรรพชนไทยเพื่อลูกหลาน. สมุนไพรเพื่อสุขภาพ โครงการสมุนไพรเพื่อการพึงพาตนเอง [อินเทอร์เน็ต]. มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ 9 - 15 กุมภาพันธ์ 2561 [เข้าถึงเมื่อ 23 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://www.matichonweekly.com/column/article_81038

จริยา ทิพย์หทัย. ฝิ่น. คลังทรัพยากรการศึกษาแบบเปิด. 21 มกราคม 2562. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 23 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://oer.learn.in.th/search_detail/result/113993#

ดวงแก้ว ปัญญาภู, สุเมธี นามเกิด, นิตาภา อินชัย, กุลสิริ ยศเสถียร. กระท่อม : สมุนไพรหรือยาเสพติด [บทปริทัศน์]. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 22 ก.ค. 2566];14(3) :242-56. เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JTTAM/article/view/113546/165292

บุษบา ประภาสพงศ์, ศิริมาลา สุวรรณโภคิน, อุทัย ไชยกลาง. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ภูมิปัญญาทางการแพทย์และมรดกทางวรรณกรรมของชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สกสค.ลาดพร้าว; 2547.

อำนวย ธัญรัตน์ศรีสกุล.พืชกระท่อมกับการดูแลสุขภาพของคนไทย [บทความวิชาการ]. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางสุขภาพ [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 22 ก.ค. 2566];5:1-9. เข้าถึงได้จาก: file:///C:/Users/BowBow/Downloads/3.1+ +พืชกระท่อมกับการดูแลสุขภาพของคนไทย.pdf

วุฒิเชษฐ รุ่งเรือง. พิษวิทยาของพืชกระท่อม [บทความวิชาการ]. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 22 ก.ค. 2566];30(2):118-24. เข้าถึงได้จาก: file:///C:/Users/User/Downloads/wtsomchai ,+%7B$userGroup%7D,+118-124+พิษวิทยา_วุฒิเชษฐ+2.pdf

กองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข. กระท่อม (Kratom) [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ก.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://mnfda.fda.moph.go.th/narcotic/?p=6063

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-09-04