This is an outdated version published on 2024-01-04. Read the most recent version.

ภูมิปัญญาไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย

ผู้แต่ง

  • ณัฐรดา บุรุษเลี่ยม โรงพยาบาลชลบุรี

บทคัดย่อ

การรักษาโรคทางการแพทย์แผนไทยเป็นภูมิปัญญาที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากการดูแลรักษาและแก้ปัญหาสุขภาพของคนในท้องถิ่นจากการใช้สมุนไพรเป็นอาหารและยา หรือการรักษาด้วยวิธีการต่าง ๆ ของหมอพื้นบ้านที่รักษาได้ เฉพาะโรคหรือรักษาได้เฉพาะที่ตนสืบทอดมา เช่น หมอยาสมุนไพร หมอน้ำมันรักษากระดูก หมอตำแย หมอนวดพื้นบ้าน โดยเกิดจากประสบการณ์ในการรักษา มิได้ศึกษาทฤษฎีการแพทย์ใด ๆ อย่างเป็นระบบ ซึ่งในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยต่างมีวิธีการรักษาที่เป็นแบบฉบับของตนเอง จึงถือเป็นศาสตร์และศิลป์ที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น เป็นองค์ความรู้ด้านการแพทย์ที่เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ทำให้มีความคล้ายคลึงกันและมีสมุนไพรที่คล้ายคลึงกันเนื่องจากภูมิอากาศคล้ายกัน กลายเป็นรากฐานภูมิปัญญาในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองอย่างเหมาะสมในแต่ละท้องถิ่นซึ่งทำให้การแพทย์แผนไทยได้รับการพัฒนาเข้าสู่ระบบการศึกษาและมีการผสมผสานการแพทย์ดั้งเดิมเข้าสู่ระบบสาธารณสุขให้เป็นระบบบริการสุขภาพของประเทศ คู่ขนานกับการแพทย์แผนปัจจุบัน เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการบำบัดรักษาที่ถูกต้องครอบคลุมการรักษาแบบองค์รวมตามมาตรฐานวิชาชีพอย่างมีคุณภาพ ปลอดภัย เกิดความพึงพอใจและเป็นที่ยอมรับ ซึ่งช่วยเพิ่มความมั่นคง คุณภาพ และประสิทธิภาพของระบบการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองและชุมชนด้วยการแพทย์แผนไทยได้

ประวัติผู้แต่ง

ณัฐรดา บุรุษเลี่ยม , โรงพยาบาลชลบุรี

กลุ่มงานแพทย์แผนไทย

เอกสารอ้างอิง

ธนิดา ขุนบุญจันทร์และคณะ. บรรณาธิการ. พื้นฐานการนวดพื้นบ้านภาคเหนือ. กองการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 2560.

กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลป่าหุ่ง อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. ข้อมูลด้านวัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น และภูมิปัญญาท้องถิ่น. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 13 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : https://www.pahung.go.th/athf/news/20210205160941.pdf

คลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ “อภัยเวลเนส”. เผายาหน้าท้องทางเลือกการรักษาด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 13 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : https://www.abhaiwellness.com/phaoya.php

Thai PBS. "เผายา" ศาสตร์หมอพื้นบ้านภาคเหนือ ใช้ความร้อนรักษาโรค. 6 ธันวาคม 2566. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 13 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : https://www.thaipbs.or.th/news/content/334638

LANNA HEALTH HUB สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่. การเช็ดแหก การรักษาพื้นบ้านล้านนาตัวจริง. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : https://lannahealthhub.org/knowledge/การเช็ดแหก-การรักษาพื้น/

ไทยโพสต์อิสระภาพแห่งความคิด. ‘อ่าข่าโฮย้า’ ภูมิปัญญาการดูแลสุขภาพของชาวอ่าข่า ต่อยอดพัฒนาสินค้า-อาหารพื้นบ้าน-การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ (1). 2 กุมภาพันธ์ 2566. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : https://www.thaipost.net/public-relations-news/315745/

ธนิดา ขุนบุญจันทร์และคณะ. บรรณาธิการ. พื้นฐานการนวดพื้นบ้านภาคกลาง. กองการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 2560.

โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. เหยียบเหล็กแดง. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 18 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : https://ttcmh.dtam.moph.go.th/index.php/knowledge/research/37-red.html

tickoen. การแพทย์พื้นบ้านไทย เหยียบเหล็กแดง. 23 กันยายน 2552. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : http://tickoen.blogspot.com/2009/09/blog-post_23.html

ธนิดา ขุนบุญจันทร์และคณะ. บรรณาธิการ. พื้นฐานการนวดพื้นบ้านภาคอีสาน. กองการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 2560.

อุษา กลิ่นหอม. ขิดเส้น วิชานวดพื้นบ้านอีสาน. 2555. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : file:///C:/Users/User/Downloads/44d34519-50e9-43cf-86c0-d84fcd2747c0.pdf

สวนหม่อนไม้ สวนเกษตรนวัตกรรมพึ่งตน. นวดขิดเส้น นวดพื้นบ้านอีสาน. 19 มกราคม 2560. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : http://www.monmai.com/นวดขิดเส้น/

ธนิดา ขุนบุญจันทร์และคณะ. บรรณาธิการ. พื้นฐานการนวดพื้นบ้านภาคใต้. กองการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 2560.

MGR Online. นวด “ลังกาสุกะ” กับเคล็ดลับ “ยี่หร่าดำ”. 10 กันยายน 2552. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : https://mgronline.com/qol/detail/9520000104737

กรุงเทพธุรกิจ. ลังกาสุกะ กรมการแพทย์แผนไทยฯ ยกศาสตร์ "นวดน้ำมัน" ลังกาสุกะ รองรับกลุ่มประเทศมุสลิม. 9 กรกฎาคม 2565. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : https://www.bangkokbiznews.com/social/1014611

เทวัญ ธานีรัตน์. การแพทย์ทางเลือก คืออะไร. [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 22 ธ.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก : http://www.msdbangkok.go.th/Alternative%20Medicine/What%20Alternative%20Medicine.htm

เผยแพร่แล้ว

2024-01-04

เวอร์ชัน