Follow-up Evaluation of Provincial Health personal Undergone Short-course HIV Counseling Training, health Region 4-การติดตามผลการอบรมเรื่อง “เทคนิคการให้คำปรึกษาแนะแนวโรคเอดส์ในเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัด เขต 4
Keywords:
-Abstract
The objective of this study was the evaluate the health personal from provincial health offices who had been trained as HIV counselor by the office of Communicable Disease Control Region 4 (CDCR4), Ratchaburi. Each of the 242 trainees was requested to fill-up a queationnaire and returned to the CDCR4 for analysis. The aspects to be evaluated included knowledge and attitude on efficient counseling as well as problems and obstacles relating to the provision of counseling services.
There were 126 respondents. Most of them had high score on HIV counseling technic evaluation with correlated well with their positive attitude on counseling. Only 57 (45.2%) were actually working as HIV counseling in their health facilities. Soon after the completion of the training, 26 counseling units were established, giving a total of 28 units in the 7 provinces.
This is useful to develop provincial counseling network and social service network, and to formulate an appropriate training guideline on HIV counseling.
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ และปัญหาการปฏิบัติการของผู้ผ่านการอบรมเรื่อง “เทคนิคการให้คำปรึกษาแนะแนวโรคเอดส์” ซึ่งเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขต 4 รวม 7 จังหวัด ได้แก่ราชบุรี นครปฐม กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบตีรีขันธ์ สมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม
ผลการศึกษาพบว่า จากผู้ว่านการอบรม 242 คน ตอบแบบสอบถามกลับมา 126 คน ซึ่งในจำนวนนี้ ทำหน้าที่บริการแนะแนว 57 คน (42.2%)ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับคะแนวความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการให้บริการปรึกษาแนะแนวโรคเอดส์อยู่ในเกณฑ์สูง ซึ่งสอดคล้อง กับการมีทัศนคติในเชิงบวกต่อการให้บริการปรึกษา (ระดับคะแนนเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 98.25)
ภายหลังการฝึกอบรม มีการจัดตั้งหน่วยให้บริการแนะแนวเพื่อขึ้นจากเดิมซึ่งมีเพียง 2 แห่ง เป็น 28 แห่งใน 7 จังหวัด
ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการวางแผนสนับสนุนการจัดตั้งหน่วยบริการปรึกษาแนะแนวของสถานบริการสาธารณสุขต่างๆ รวมทั้งแนวทางในการพัฒนาระบบเครือข่ายการให้บริการปรึกษาฯ (counseling net work) และระบบเครือข่ายการให้บริการทางสังคมของผู้ป่วย/ผู้ติดเชื้อเอดส์ และครอบครัว (Social service net work) ของแต่ละจังหวัด ตลอดจนสามารถทำไปกำหนดแนวทางการฝึกอบรมครั้งต่อไป ทั้งแนวกว้างและแนวลึก รวมทั้งการถ่ายทอดแนวคิดการจัดระบบเครือข่ายการให้บริการปรึกษาในอนาคตต่อไป