ประสิทธิผลของรูปแบบการเล่นในศตวรรษที่ 21 ต่อทักษะด้านอารมณ์ และสังคมในเด็กปฐมวัยไทย

ผู้แต่ง

  • ธนิกา สุจริตวงศานนท์ สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
  • วัชรินทร์ แสงสัมฤทธิ์ผล กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีกิจกรรมทางกายแม่และเด็ก กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
  • ทับทิม ศรีวิไล กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีกิจกรรมทางกายแม่และเด็ก กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

คำสำคัญ:

การเล่น, เด็กปฐมวัย, ทักษะด้านอารมณ์และสังคม, ประสิทธิผล

บทคัดย่อ

สถานการณ์เด็กปฐมวัยไทยล่าสุดพบว่า พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคมเป็นด้านที่เด็กมีพัฒนาการตามเกณฑ์ น้อยที่สุดเป็นลำดับที่ 2 โดยการเล่นร่วมกันระหว่างเด็กกับผู้ปกครองยังมีน้อย กรมอนามัยจึงพัฒนารูปแบบการเล่น เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและทักษะเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 ขึ้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาประสิทธิผลของ รูปแบบการเล่นดังกล่าวในบริบทครัวเรือน บริบทสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และทั้ง 2 บริบทร่วมกัน ที่มีต่อทักษะด้าน อารมณ์และสังคมในเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างคือเด็กอายุ 3-6 ปี จำนวน 415 คน ใน 5 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ราชบุรี นนทบุรี ขอนแก่น และนครศรีธรรมราช โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่มอายุ ได้แก่ เด็กอายุ 3-5 ปี จำนวน 399 คน ใช้แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์เด็กอายุ 3-5 ปี (ฉบับย่อ) และเด็กอายุ 4-6 ปี จำนวน 263 คน ใช้แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก เพื่อประเมินทักษะด้านอารมณ์และสังคมตามเกณฑ์อายุ ใช้สถิติ Wilcoxon’s test วิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังใช้รูปแบบการเล่นฯ ภายในกลุ่ม และใช้สถิติ Kruskal-Wallis test วิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยก่อนใช้รูปแบบการเล่น หลังใช้รูปแบบการเล่นฯ และคะแนนเฉลี่ยทีเปลี ่ ่ยนไประหว่างกลุ่ม พบว่า เด็กอายุ 3-5 ปี มีคะแนนเฉลี่ยรวมแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์หลังใช้รูปแบบการเล่นฯ ของกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองบริบทครัวเรือน และกลุ่มทดลองบริบทสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนเด็กอายุ 4-6 ปี มีคะแนนเฉลี่ยปัญหาพฤติกรรมรวมลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังใช้รูปแบบการเล่นฯ ใน กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองบริบทครัวเรือน (p<0.05) และคะแนนเฉลี่ยปัญหาพฤติกรรมรวมหลังใช้รูปแบบการ เล่นฯ ของทั้ง 4 กลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) จึงควรต่อยอดให้ใช้รูปแบบการเล่นดังกล่าว อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมทักษะด้านอารมณ์และสังคมของเด็กปฐมวัยไทย ให้พร้อมที่จะเป็นเด็กไทยแห่งศตวรรษ ที่ 21

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. แผนปฏิบัติการภายใต้นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2569) ว่าด้วยการส่งเสริมการเกิดและการเจริญ เติบโตอย่างมีคุณภาพ พ.ศ. 2560-2562. นนทบุรี: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด; 2560.

คณะกรรมการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ. นโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2560-2569) ว่าด้วยการส่งเสริม การเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 31 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: http://202. 29.80.118/datas/document/PolicyandStrategy/strategic/strategic-reproductive-59.pdf

ไทยพีบีเอส. สธ. เปิดสถิติเด็กไทยเกิดต่ำกว่า 600,000 คน ครั้งแรกในรอบ 3 ปี [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้น 31 พ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://news.thaipbs.or.th/content/301313

กรมอนามัย. ร้อยละของเด็ก อายุ 0-5 ปี ทั้งหมดตาม ช่วงอายุที่กำหนดมีพัฒนาการสมวัย (สมวัยครั้งทีสอง) ระดับ ่ เขตสุขภาพ [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 1 มิ.ย. 2564]. แหล่ง ข้อมูล: https://dashboard.anamai.moph.go.th/dashboard/ dspm?year=2021

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. รายงานผลฉบับสมบูรณ์ การสำรวจ สถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ. 2562. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสถิติแห่งชาติ; 2563.

วรรณจรี มณีแสง. ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียนอนุบาลและ ระดับประถมศึกษาในโรงเรียนเขตชุมชนมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น วิทยาเขตวัชรพล [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 7 มิ.ย. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://oldweb.western.ac.th/ media/attachments/2017/09/13/kinderkarten.pdf

ชาตรี วิฑูรชาติ. เลี้ยงลูกอย่างไรให้มี EQ ดี [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 16 มิ.ย. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://www. si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=684

สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. คู่มือ การจัดกิจกรรมเสริมสร้างอีคิวเด็กปฐมวัย สำหรับครูใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: พรอสเพอรัสพลัส; 2561.

ปิยนันท์ พูลโสภา. การพัฒนาการเล่น เพื่อการเรียนรู้ของ เด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ 2560;32(1):20-7.

American Academy of Pediatrics. The power of play: a pediatric role in enhancing development in young children. Pediatrics 2018;142(3):1-16.

กลุ่มสนับสนุนวิชาการและการวิจัย สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. รายงานการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการ เด็กปฐมวัยไทยครั้งที่ 6 พ.ศ. 2560 [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้น เมื่อ 1 ก.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://hp.anamai.moph. go.th/download/article/article_20190225123524.pdf

Burdette HL, Whitaker RC. Resurrecting free play in young children. Arch Pediatr Adolesc Med 2005;159(1): 46-50.

American Academy of Pediatrics. The importance of play in promoting healthy child development and maintaining strong parent-child bonds. Pediatrics 2007;119(1):182- 91.

Mainella FP, Agate JR, Clark BS. Outdoor-based play and reconnection to nature: A neglected pathway to positive youth development. New Dir Youth Dev 2011; 2011(130);89-104.

อดิศร์สุดา เฟื่องฟู. ของเล่นและการเล่นเพื่อส่งเสริม พัฒนาการตามวัย. ใน: ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย, รวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์, สุรีย์ลักษณ์ สุจริตพงศ์, วีระศักดิ์ ชลไชยะ, บรรณาธิการ. ตำราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก เล่ม 3 การ ดูแลเด็กสุขภาพดี. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์; 2556. หน้า 335-48.

กองแผนงาน กรมอนามัย. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2563-2565) ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพมหานคร: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2563.

อดุลย์ วังศรีคูณ. การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21: ผลผลิต และแนวทางการพัฒนา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 2557;8(1):1-17.

Partnership for 21st Century Learning. 21st Century learning for early childhood framework [Internet]. 2019 [cited 2021 Jun 29]. Available from: http://static.battelleforkids.org/documents/p21/P21EarlyChildhoodFramework.pdf

Partnership for 21st Century Learning. 21st Century learning for early childhood guide [Internet]. 2019 [cited 2021 Jun 29]. Available from: http://static.battelleforkids.org/documents/p21/P21EarlyChildhoodGuide. pdf

ปิยลัมพร หะวานนท์, วสันต์ ปัญญาแสง. การพิจารณาขนาด ตัวอย่าง. ใน: พิเชฐ สัมปทานุกุล, บรรณาธิการ. หลักการ ทำวิจัยสู่ความสำเร็จในการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โฟคัลอิมเมจพริ้นติ้งกรุป; 2554. หน้า 255-71.

จรณิต แก้งกังวาล, ประตาป สิงหศิวานนท์. ขนาดกลุ่ม ตัวอย่างในการวิจัยทางคลินิก [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 1 ก.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://rdo.psu.ac.th/ResearchStandards/animal/assets/document/SampleSizes. pdf

กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือเฝ้ าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย developmental surveillance and promotion manual (DSPM). กรุงเทพมหานคร: องค์การสงเคราะห์- ทหารผ่านศึก; 2564.

คลังความรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. แบบประเมินความ ฉลาดทางอารมณ์ เด็กอายุ 3-5 ปี (ฉบับย่อ) สำหรับครู/ ผู้ดูแล [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 9 ก.พ. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://dmh-elibrary.org/items/show/306.

คลังความรู้สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. แบบประเมินความ ฉลาดทางอารมณ์ เด็กอายุ 3-5 ปี (ฉบับย่อ) สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 9 ก.พ. 2564]. แหล่ง ข้อมูล: https://dmh-elibrary.org/items/show/305

กาญจนา วณิชรมณีย์, เยาวนาฏ ผลิตนนท์เกียรติ, อมรากุล อินโอชานนท์, เสาวลักษณ์ สุวรรณไมตรี, อรวรรณ ดวงจันทร์. การพัฒนาแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์เด็ก อายุ 3-5 ปี และ 6-11 ปี (ฉบับย่อ). วารสารราชานุกูล 2558;30(1):1-7.

Goodman R. The strengths and difficulties questionnaires: questionnaires etc. View and download [Internet]. 2020 [cited 2021 Jun 29]. Available from: https://www. sdqinfo.org/py/sdqinfo/b3.py?language=Thai

ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ , พรรณพิมล วิปุลากร, สุภาวดี นวลมณี, โวฟกัง เวิร์นเนอร์, อภิชัย มงคล. แบบประเมิน จุดแข็งและจุดอ่อน (SDQ: ฉบับภาษาไทย): การเปลี่ยนแปลง และแนวทางการใช้. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2554;19(2):128-34.

ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. การคัดกรองสุขภาพจิตเด็กวัยเรียน. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์พับลิสชิ่ง; 2560.

จรณิต แก้งกังวาล, ประตาป สิงหศิวานนท์. พื้นฐานสถิติที่ ใช้ในการวิจัยทางคลินิก [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 1 ก.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล:https://rdo.psu.ac.th/ResearchStandards/animal/assets/document/SampleSizes.pdf

Howard J, McInnes K. The impact of children’s perception of an activity as play rather than not play on emotional well-being. Child Care Health Dev 2013;39(5): 737-42.

Richard S, Baud-Bovy G, Clerc-Georgy A, Gentaz E. The effects of a ‘pretend play-based training’ designed to promote the development of emotion comprehension, emotion regulation, and prosocial behaviour in 5- to 6-year-old Swiss children. Br J Psychol 2021;112(3): 690-719.

Sezgin E, Demiriz S. Effect of play-based educational programme on behavioral self-regulation skills of 48-60 month-old children. Early Child Dev Care 2019; 189(7):1110-13.

Petersen H, Holodynski M. Bewitched to be happy? The impact of pretend play on emotion regulation of expression in 3- to 6-year-olds. J Genet Psychol 2020;181(2- 3):111-26.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ