่ความชุก drug interactions ในผู้ป่วยสูงอายุผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชลบุรี

ผู้แต่ง

  • Benjaphorn Kriangkraipetch Chonburi Hospital

บทคัดย่อ

ความสำคัญ ผู้สูงอายุ มีความเจ็บป่วยหลายโรค และมีโอกาส ได้ยาจำนวนหลายรายการซึ่งมีโอกาส เกิด ปฎิกิริยาระหว่างกันของยา และ ทำให้เกิดผลข้างเคียงตามมาได้ บางรายถึงขั้นเสียชีวิตได้

วัตถุประสงค์  ศึกษาความชุก drug drug interaction ระดับ catagory D,X ในผู้ป่วยผู้สูงอายุที่มารับบริการในแผนก ผู้ป่วยนอก

รูปแบบ สถานที่และ ผู้ป่วย การศึกษาเชิงพรรณนา ในผู้ป่วยสูงอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 65 ปีที่มารับบริการ แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชลบุรี 

การวัดผลและวิธีการ รวบรวมข้อมูลทั่วไป  ปฏิกิริยาระหว่างกันของยา(drug drug interaction)  การให้ยาไม่เหมาะสมตามเกณฑ์ 2019  American Geriatrics Society Beer’s criteria  วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา 

ผล: ผู้ป่วยสูงอายุ ที่มารับการรักษาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลชลบุรีจำนวน 471 คน อายุเฉลี่ย 75.3±5.6 ส่วนใหญ่ได้ยามากกว่า 7 ชนิด ร้อยละ 47.8 พบปฏิกิริยาระหว่างยา category D (ควรปรับขนาด หรือเปลี่ยนยาและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเพื่อลดพิษจากยา) และ category X (ควรหลีกเลี่ยงเพราะเกิดโทษมากกว่าประโยชน์) ร้อยละ 36.9  95%CI 32.6-41.5 และ ร้อยละ7.9  95%CI 5.6-10.7 ตามลำดับ คู่ยาที่พบบ่อยสุด 2 อันแรก ได้แก่ Opioid Analgesics คู่กับ CNS depressants ร้อยละ  14  95%CI 11.0-17.5 และ Clopidogrel คู่กับ Omeprazole ร้อยละ 9.1  95%CI 6.7-12.1                การให้ยาไม่เหมาะสมตามเกณฑ์ 2019  American Geriatrics Society Beer’s criteria(เกณฑ์การตัดสินการใช้ยาไม่เหมาะสมที่ไม่ขึ้นกับโรค โดยผ่านการรับรองจาก American Geriatrics Society)       ร้อยละ 36.7  95%CI 32.4-41.3  ยาที่ไม่เหมาะสม 3 อันแรก คือ lorazepam ร้อยละ 19.7 95%CI 16.2-23.6  prazosin ร้อยละ 8.9 95%CI 6.5-11.9 และ PPI ร้อยละ 7 95%CI 4.9-9.7 ตามลำดับ

Interaction pair

Prevalence

ร้อยละ

95%CI

Risk rating

Severity

Reliability rating     

Opioid Analgesics /CNS depressants

66

14.0

11.0-17.5

 

D

Major

Fair

Clopidogrel/

Omeprazole

43

9.1

6.7-12.1

 

D

Major

Fair

ข้อยุติและการนําไปใช้  สามารถนำระบบเตือนในคอมพิวเตอร์ คู่ปฏิกริยาระหว่างยา และ การให้ยาในผู้ป่วยสูงอายุตามเกณฑ์ 2019  American Geriatrics Society Beer’s criteria  มาใช้ต่อไป ข้อจำกัด  ยาหรืออาหารเสริมที่ผู้ป่วยซื้อทานเองยังไม่ได้นำมารวมทั้งหมดในการศึกษา  

ประวัติผู้แต่ง

Benjaphorn Kriangkraipetch, Chonburi Hospital

Family medicine

เอกสารอ้างอิง

กลุ่มสถิติประชากร กองสถิติสังคม สํานักงานสถิติแห่งชาตสำนักงานสถิติแห่งชาติ 2561 [อินเทอร์เน็ต] [เข้าถึงเมื่อ13 มิถุนายน 2564].เข้าถึงได้จาก:http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านสังคม/สาขาประชากร/ประชากรสูงอายุ/2560/รายงานฉบับสมบูรณ์.pdf

Kim J, Parish AL. Polypharmacy and Medication Management in Older Adults. Nurs Clin North Am. 2017;52(3):457-468. https://doi.org/10.1016/j.cnur.2017.04.007

Lindley CM, Tully MP, Paramsothy V et al. Inappropriate medication is a major cause of adverse drug reactions in elderly patients. Age Ageing 1992; 21: 294–300.

Klarin I, Wimo A, Fastbom J. The association of inappropriate drug use with hospitalization and mortality: a population-based study of the very old. Drugs Aging 2005; 22: 69–82

Lazarou J, Pomeranz BH, Corey PN. Incidence of adverse drug reactions in hospitalized patients: a meta-analysis of prospective studies. JAMA 1998; 279: 1200

Lau DT, Kasper JD, Potter DEB et al. Hospitalization and death associated with potentially inappropriate medication prescriptions among elderly nursing home residents. Arch Intern Med 2005; 165: 68–74.

Cooper JW. Adverse drug reaction-related hospitalizations of nursing-facility patients: a 4-year study. South Med J 1999; 92:485–90

Onder G, Pedone C, Landi F et al. Adverse drug reactions as a cause of hospital admissions: results from the Italian Group of Pharmacoepidemiology in the Elderly (GIFA). J Am Geriatr Soc 2002; 50: 1962.

Yamin Huang, Lu Zhang, Xingxing Huang et al.Potentially inappropriate medications in Chinese community-dwelling older adults. International Journal of clinical pharmacy 2020; 42: 598-603

Rawabi Aljadani, Mohammed Aseeri. Prevalence of drug-drug interactions in geriatric patients at an ambulatory care pharmacy in a tertiary care teaching hospital. BMC res Notes. 2018; 11: 234

Paul F, Pat J, Cristin R et al. Inappropriate prescribing in an acutely ill population of elderly patients as determined by Beers' Criteria. Age and aging 2008; 37: 96-101

Pasitpon Vatcharavongvan, Viwat Puttawanchai. Potentially inappropriate medications among the elderly in primary care in Thailand from three different sets of criteria. Pharm Pract(Granada). 2019; 17(3): 1494

Update expert panel. American Geriatric society (AGS) Beer’s criteria 2019. Journal of the American Geriatrics Society 2019; 64: 674-694

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-08-31