ความชุกของความผิดปกติทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อของผู้ใช้งานแท็บเล็ตในนิสิตสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้แต่ง

  • สุวลี นามวงษา ภาควิชากายภาพบำบัด คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ธารารัตน์ กิตติตระการ ภาควิชากายภาพบำบัด คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • โยษิตา โมราสุข ภาควิชากายภาพบำบัด คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • พัณณิตา สุขวิเศษ ภาควิชากายภาพบำบัด คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • วโรชา วงษ์จีน ภาควิชากายภาพบำบัด คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

คำสำคัญ:

ความผิดปกติทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ, ความชุก, แท็บเล็ต

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของความผิดปกติทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ และเพื่อเปรียบเที่ยบตำแหน่งความชุกของความผิดปกติทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อในแต่ละส่วนของร่างกายทั้ง 9 บริเวณของผู้ใช้งานแท็บเล็ต ในนิสิตสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 555 คน โดยการสำรวจด้วยแบบสอบถามเรื่อง “ความผิดปกติทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อของผู้ใช้งานแท็บเล็ตในนิสิตสายวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร” ผลการศึกษาพบว่ามีนิสิตที่เกิดความผิดปกติทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อภายหลังจาก การใช้งานแท็บเล็ตจำนวน 397 คน (ร้อยละ 71.53) และพบความชุกของความผิดปกติทางระบบกระดูกและกล้ามื้เน้อในระยะเวลา 7 วันที่ผ่านมา และในระยะเวลา 12 เดือน ที่ผ่านี้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยกลุ่ม ที่พบสูงสุดคือกุ่ล่ มกระดูักสันัหลัง ได้แก่ ค้อร้อยละ 31.99 และ 32.50 หลังส่วนบนงสองข้าง ร้อยละ 17.38 และ 15.87 และหลังั่ส่วนล่างั้ทั้งส้องข้าง ร้อยละ 14.61 และ14.86 ดับถัดมา คือก มรยางค์ ส่วนบน ได้แก่ ไหล่ขวา ร้อยละ 10.33 และไหล่ทั้งส้องข้าง ร้อยละ 11.08 ข้อืมือและมือขวา ร้อยละ 10.83 และ 9.57 และข้อศ้อกซ้าย ร้อยละ 3.53 และข้อศอกขวา ร้อยละ 2.27 และลำดัดับสุดุท้ายืคือกลุ่มมรยางค์ ส่ว่นล่าง ได้แก่ สะโพก ร้อยละ 7.30 และ 8.56 เข่า ร้อยละ 6.30 และ 6.05 และข้อเท้าและเท้า ร้อยละ 4.03 และ 7.05 สรุปได้ว้าผู้ใช้ง้านแท็บเล็ตในก มัติัว่อย่างมีการบาดเจ็บทางระบบกระดูกูและกล้ามเนื้อภายหลังจากการใช้งานแท็บเล็ตได้ทุกุ่ส่วนของร่างกายงพบสูงสุดในกลุ่มกระดูักสันหลังโดยเเฉพาะอย่างง ที่บริเวณคอ

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

eMarketer.com. Slowing Growth Ahead for Worldwide Internet Audience [Internet]. 2016 [cited 2019 Jan 7]. Available from: https://www.emarketer.com/Article/ Slowing-Growth-Ahead-Worldwide-Internet-Audi¬ence/1014045

Brand buffet. สถิติผู้ใช้ดิจิทัลทั่วโลก “ไทย” เสพติดเน็ตมาก สุดในโลก - “กรุงเทพ” เมืองผู้ใช้ Facebook สูงสุด [อินเทอร์เน็ ต]. 2018 [สืบค้นเมื่อ 9 มกราคม 2562]. แหล่งข้อมูล: https://www.brandbuffet.in.th/2018/02/glob¬al-and-thailand-digital-

report-2018/

Ghiciuc I. State of the mobile economy in 2014 [Inter¬net]. 2014 [cited 2019 Jan 9].

Availablefrom:https://www.thinslices.com/blog/smartphone-statistics-tab¬let-usage-patterns

Barbe MF, Barra AE. Inflammation and the patho-physiology of work-related musculoskeletal disorders. Brain Behav Immun 2006;20(5):423–29.

ประวิตร เจนวรรธนะกุล, ปราณีต เพ็ญศรี, ธเนศ สินส่งสุข, วิโรจน์ เจียมจรัสรังสี ,ศิริเพ็ญ ศุภกาญจนกันติ. ความชุกปัจจัยส่งเสริม และความสูญเสียทางเศรษฐกิ จที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอาการทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้ออันเนื่องมาจากการทำงานในผู้ที่ทำงานในสำนักงานในสถานประกอบการใน เขตกรุงเทพมหานคร [อินเทอร์เน็ต]. 2548 [สืบค้นเมื่อ10 มกราคม 2562]. แหล่งข้อมูล: http://rsearch.mol.go. th/2013/rsdat/data/doc/IHEQTi0/04IHEQTi0.do

hiso.or.th. ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพของประชาชนโดย การตรวจร่างกาย [อินเทอร์เน็ต]. 2541 [สืบค้นเมื่ออ10มกราคม2562].แหล่งข้อมูล: https://www.hiso.or.th/hiso/picture/reportHealth/report/report3.pdf

Chiang HYA, Liu CH. Exploration of the associations of touch-screen tablet computer usage and musculoskeletal discomfort. Work 2016;53(4):917-25.

Uyal BN, Yel EB, Korhan O. Impact of traditional education and tablet-assisted education on students: a comparative analysis. EURASIA J Math Sci Tech Ed 2017;13 (11):7205-13.

Lee SP, Hsu YT, Bair B, Toberman M, Chien LC. Gender and posture are significant risk factors to musculoskeletal symptoms during touchscreen tablet computer use. J Phys Ther Sci 2018;30(6):855–61.

วรานุช ปิติพัฒน์. ระเบียบวิธีวิจัยทางทันตแพทย์ศาสตร์. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2554.

สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล, วนิดา พุ่มไพศาลชัย, พิมมาศ ตาปัญญา. การสร้างแบบวัดความเครียดสวนปรุง. วารสารสวนปรุง 2541;13 (3):1-20.

อรวรรณ แซ่ตั๋น, จิราพร เขียวอยู่, ชุลี โจนส์ ,ดุษฎี อายุวัฒน์. ความผิดปกติทางระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อในแรงงาน ก่อสร้างย้ายถิ่นชั่วคราวจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ศรีนครินทร์เวชสาร 2550;22 (2):165-73.

สำราญ สิริภคมงคล. การวัดการสร้างเครื่องมือและการตรวจ สอบคุณภาพเครื่องมือ [อินเทอร์เน็ต].[สืบค้นเมื่อ12มกราคม2562].แหล่งข้อมูล:http://irem.ddc.moph. go.th/uploads/downloads/5ab9aa2c461ef.pdf

สุภมาส อังศุโชติ. การเลือกใช้สถิติให้เหมาะสมกับการวิจัย สำนักทะเบียนและวัดผล.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมธิราช; 2555.

สุขวรรณ ชุติวัตรพงศธร , สุนิสา ชายเกลี้ยง. การประเมิน ความเสี่ยงและปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์ของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดหนองคาย. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2558;8(3):64-72.

Promsri A. Assessment of working posture and work-related musculoskeletal disorders in Dok Kaew broom weaving workers. Journal of Associated Medical Sciences 2560;50 (1):138-47.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-08-31

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ