สำรวจสภาพความปลอดภัยของหมวกนิรภัยของผู้ขับขี่จักรยานยนต์สาธารณะ ในพื้นที่ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้า

ผู้แต่ง

  • กิจจา จิตรภิรมย์ สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
  • เชิดศิริ นิลผาย สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
  • ชนพร พลดงนอก สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
  • บุตรี เทพทอง สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
  • พัทธนันท์ เดชจิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
  • วรพล แจ้งกลิ่น สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
  • ขนิษฐา มุขคีรี สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
  • จินตนา เรืองเจริญ สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร

คำสำคัญ:

หมวกนิรภัย, ผู้ขับขี่จักรยานยนต์สาธารณะ, เส้นทางรถไฟฟ้า

บทคัดย่อ

อัตราการเสียชีวิตจากการขับขี่รถจักรยานยนต์ยังคงมีสาเหตุหลักมาจากการได้รับบาดเจ็บบริเวณศีรษะและ ลำคอขณะเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน แม้การสวมใส่หมวกนิรภัยจะสามารถป้ องกันเหตุขั้นรุนแรงนั้นได้แต่มีไม่น้อยที่ ยังคงพบการเสียชีวิตได้แม้ขณะสวมหมวกนิรภัย การวิจัยเชิงสำรวจนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพความปลอดภัยของหมวกนิรภัยของกลุ่มผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้างสาธารณะในพื้นที่ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้ าสายหนึ่ง โดยใช้แบบบันทึกผลการสำรวจที่สร้างขึ้นมาเพื่อเก็บและรวบรวมข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ จำนวน 120 คน ซึ่งผ่านการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ตลอดจนประเมินสภาพและพฤติกรรมการใช้งานของ หมวกนิรภัยที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 92.5) มีอายุระหว่าง 36-45 ปี (ร้อยละ 32.5) ประกอบอาชีพขับขี่รถจักรยานยนต์ สาธารณะเป็นอาชีพหลัก (ร้อยละ 79.2) ระยะเวลาในการประกอบอาชีพอยู่ระหว่าง 1-5 ปี (ร้อยละ 36.7) ผลการ สำรวจหมวกนิรภัยทั้งหมดจำนวน 120 ใบ มีหมวกนิรภัยถึงร้อยละ 70.8 ไม่ผ่านตามเกณฑ์การประเมิน โดยพบว่ามี หมวกนิรภัยจำนวน 80 ใบ (ร้อยละ 66.7) เคยตกกระแทก 54 ใบ (ร้อยละ 45.0) พบแผ่นบังลมมีรอยขีดข่วนซึ่ง บดบังการมองเห็น นอกจากนี้มีถึง 36 ใบ (ร้อยละ 30.0) มีอายุการใช้งานมากกว่า 5 ปี 13 ใบ (ร้อยละ10.8) ไม่มี แผ่นบังลม และ 9 ใบ (ร้อยละ 7.5) พบมีการดัดแปลงหรือตกแต่งหมวกนิรภัยตามลำดับ จากข้อมูลดังกล่าวนี้ จึงมีประโยชน์ในการรณรงค์ให้ความรู้แก่พนักงานขับรถดังกล่าวเพื่อเป็นแนวทางในการสำรวจสภาพความปลอดภัย ของอุปกรณ์จนก่อให้เกิดความตระหนักถึงความปลอดภัยในการสัญจรในท้องถนน อันเป็นการลดอุบัติเหตุที่อาจ เกิดขึ้นได้

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

World Health Organization. First global ministerial con-ference on road safety [Internet]. 2009 [cited 2023 Nov 10]. Available from: https://cdn.who.int/media/docs/default-source/documents/un-road-safety-colla bora-tion/moscow_conference_booklet.pdf?s -fvrsn=ff984742_1&download=true

ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน. แผนแม่บทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2561–2564 [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ 26 ม.ค. 2563]. แหล่งข้อมูล: http://road-safety.disaster.go.th/upload/minisite/file/at-tach/196/5e8f159b2f84c.pdf

United Nation. Transforming our world: the 2030 agenda for sustainable development [Internet]. 2015 [cited 2022 Apr 7]. Available from: https://sustainabledevel-opment.un.org/post2015/transformingourworld/publi-cation

กรมการขนส่งทางบก. จำนวนวินและผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ สาธารณะในเขต กทม.[อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้นเมื่อ 12 ม.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://data.go.th/dataset/pubmotorcycle

กรมการขนส่งทางบก. ข่าวกรมขนส่งทางบก [อินเทอร์เน็ต].2563 [สืบค้นเมื่อ 22 ม.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://www.dlt.go.th/th/public-news/view.php?_did=2806

World Health Organization. Global status report on road safety [Internet]. 2018 [cited 2022 Apr 7]. Available from: https://apps.who.int/iris/bitstream/han-dle/10665/277370/WHO-NMH-NVI-18.20-eng. pdf? ua= 1

หน่วยเฝ้าระวังและสะท้อนสถานการณ์ความปลอดภัยทาง ถนน. การสำรวจอัตราการสวมหมวกนิรภัย [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ 26 ม.ค. 2562]. แหล่งข้อมูล: http://trso.thairoads.org/statistic/helmet

ประชาชาติธุรกิจ ออนไลน์. ปี’64 เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุทาง ถนน 1.3 หมื่นราย “กลุ่มวัยทำงาน” ตายสูงสุด [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [สืบค้นเมื่อ 21 ก.พ. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://www.prachachat.net/finance/news-869874

Keng SH. Helmet use and motorcycle fatalities in Taiwan. Accident Analysis & Prevention 2005;37(2):349-55.

Yu WY, Chen CY, Chiu WT, Lin MR. Effectiveness of different types of motorcycle helmets and effects of their improper use on head injuries. International Journal of Epidemiology 2011;40(3):794–803.

Peek-Asa C, McArthur DL, Kraus JF. The prevalence of non-standard helmet use and head injuries among mo-torcycle riders. Accid Anal Prev 1999;31:229–33.

Langlois JA, Rutland-Brown W, Thomas KE. Traumat¬ic brain injury in the United States: emergency department visits, hospitalizations, and deaths [Internet]. 2006 [cit¬ed 2022 April 7]. Available from: https://stacks.cdc. gov/view/cdc/12294

Lee ST, Lui TN, Chang CN, Wang DJ, Heimburger RF, Fai HD. Features of head injury in a developing coun¬try-Taiwan (1977–1987). J Trauma 1990;30:194–9.

สำนักงานมาตรฐานอุุตสาหกรรม. เอกสารคู่มือมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหมวกนิรภัยสำหรับผู้ใช้รถ จักรยานยนต์ มอก. 369-2557 [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [สืบค้นเมื่อ 26 ม.ค. 2562]. แหล่งข้อมูล: https:// service. tisi.go.th/fulltext/TIS-369-2557m.pdf

Michael P. Which helmet standard is the best? SNELL, DOT, ECE, SHARP, or FIM? [Internet]. 2021 [cited 2022 April 2]. Available from: https://agvsport.com/ blog/which-helmet-standard-is-the-best-snell-dot-ece-sharp-or-fim.html

กลุ่มสถิติการขนส่ง กองแผนงาน กรมขนส่งทางบก. สถิติจำนวนวินและจํานวนผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์สาธารณะในกรุงเทพมหานคร ณ 31 ธันวาคม 2561 [อินเทอร์เน็ต].2566 [สืบค้นเมื่อ 3 ม.ค. 2567]. แหล่งข้อมูล: https:// data.go.th/dataset/4215368e-93b7-4310-b116- 551df342c547/resource/64324983-ad51-4e70- af10-e99089a8d6ce/download/-2561.pdf

กลุ่มสถิติการขนส่ง กองแผนงาน กรมขนส่งทางบก. รายงานการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน และอัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อประชากร 100,000 คน ปีงบประมาณ 2565 [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2567]. แหล่งข้อมูล: file:///D:/ Acer/Downloads/รายงานการวิเคราะห์ผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนและอัตราผู้เสียชีวิตฯ.pdf

epartment of Health. The Belmont report [Internet]. 1979 [cited 2022 Apr 10]. Available from: https://www.hhs.gov/ohrp/regulations-and-policy/bel¬mont-report/read-the-belmont-report/index.html

Kraus JF, Peek C. The impact of two related prevention strategies on head injury reduction among nonfatally injured motorcycle riders, California, 1991-1993. J Neurotrauma 1995;12(5):873-81.

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. พระราชบัญญัติจราจรทางบกตั้งแต่ พ.ศ. 2522. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 96, ตอนที่ 8 ฉบับพิเศษ (ลงวันที่ 29 มกราคม 2522).

หน่วยเฝ้าระวังและสะท้อนสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน. สวมหมวกนิรภัย [อินเทอร์เน็ต]. 2556 [สืบค้นเมื่อ20 ม.ค. 2562]. แหล่งข้อมูล: http://trso.thairoads.org/ statistic/risk/detail/5068

Richter M, Otte D, Lehmann U, Chinn B, Schuller E, Doyle D, et al. Head injury mechanisms in helmet-pro¬tected motorcyclists: prospective multicenter study. J Trauma 2001;51:949-58.

Richards PG. Detachment of crash helmets during mo¬torcycle accidents. Br Med J (Clin Res Ed) 1984; 288 (6419):758.

Ouellet JV, Kasantikul V. Motorcycle helmet effect on a per-crash basis in Thailand and the United States. Traf¬fic Inj Prev 2006;7:49-54.

DeMarco A L, Chimich D D, Gardiner J, Nightingale R W, Siegmund G P. The impact response of motorcycle helmets at different impact severities. Accident Analysis & Prevention 2010;42(6):1778-84.

ศููนย์ปฏิบัติการณ์ร่วมป้องกันลดอุบัติเหตุทางถนน. หมวกนิรภัย เป็นอุปกรณ์สำคัญในการลดความรุนแรงของการบาดเจ็บ [อินเทอร์เน็ต]. 2551 [สืบค้นเมื่อ 14 ส.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล:http://www.bangkok.go.th/upload/user/00000312/Documents/Report_4.pdf

Alessandro LC, Belchior ML, Iris S, Amanda LS, Taua TL, Alidianne FCX. Motorcycle accidents: Morbidity and associated factors in a city of northeast of Brazil. Tanzan J Health Res 2013;15(4):1-7.

Berecki-Gisolf J, Yiengprugsawan V, Kelly M, McClure R, Seubsman S-a, Sleigh A. The impact of the Thai motorcycle transition on road traffic injury: Thai cohort study results. PLoS ONE 2015;10(3):e0120617.

Apidechkul T, Laingoen O, Suwannaporn S, Tamornpark R. Factors influencing motorcycle accidents among hill¬tribe youths in Chiang Rai, Thailand. J Health Res 2017; 31(6):473-80.

สำนักระบาดวิทยา. สรุุปรายงานการเฝ้าระวังประจำปี 2559. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2560.

Santosh B, Kunnawee K. Factors affecting the severity of motorcycles accidents and casualties in Thailand by using probit and logit model. J East Asia Soc Transp Stud 2015;11:2175-88.

ธนภณ เลิศจิตตสกุล, อรุณ เล้าอรุณ, พรทิพย์ บุญทรง. คุณภาพชีวิตของผู้ขับขี่จักรยานยนต์สาธารณะในเขต กรุงเทพมหานคร กรณีศึกษาเขตทุ่งครุ ราษฎร์บูรณะ ภาษีเจริญ บางกอกน้อย และบางแค [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ12 มี .ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/123456 789/1299/ RMUTRCON_N2005-116 -1.pdf?sequence=1& isAllowed=y

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-08-31

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ