ประสิทธิผลของ Sensory Retraining ร่วมกับการฟื้นฟูกิจกรรมบำบัดเพื่อฟื้นฟูรยางค์ส่วนบนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง

ผู้แต่ง

  • ชาลิณี ขันทะ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุุข
  • พิชญ์พิมล สุวรรณภูมิ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุุข
  • นันทวรรณ บุญส่งรุ่งเรือง สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุุข
  • วรางคณา ปัญญาแก้ว สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟููสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุุข

คำสำคัญ:

โรคหลอดเลือดสมอง, กิจกรรมบำบัด, การฟื้นฟู sensory retaining, การรับความรู้สึก

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้เทคนิค ระถรory retrining ร่วมกับการฟื้นฟูกิจกรรม บำบัดต่อการฟื้นฟูรยางค์ส่วนบนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองจำนวน 58 ราย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ทั้งสองกลุ่มจะได้รับการ ฟื้นฟูความถี่สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ต่อเนื่อง 6 สัปดาห์ รวมทั้งสิ้น 18 ครั้ง โดยกลุ่มทดลองได้รับการฟื้นฟูกิจกรรมบำบัด 30 นาที ตามด้วยการฟื้นฟู sensory retraining อีก 30 นาที รวม 60 นาที และกลุ่มควบคุมได้รับการฟื้นฟูกิจกรรม บำบัด 60 นาที การวัดผลประกอบด้วย (1) ชุดการประเมิน The functional Tactile Object Recognition, (2) Fugl-Meyer Assessment of Physical Perforfomance (upper extremity motor) และ (3) แบบประเมินการรับความ รู้สึกของแขนและมือ (ระกsory assessment) โดยทำการวัดผลทั้งหมด 2 ครั้ง ได้แก่ ก่อนและหลังสิ้นสุดการฟื้นฟูครั้ง สุดท้าย ผลการศึกษา พบว่า การฟื้นฟูรยางค์ส่วนบนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยใช้เทคนิค ระกรory retraining ร่วมกับการฟื้นฟูด้วยวิธีทางกิจกรรมบำบัดทั่วไป มีประสิทธิผลในการเพิ่มความสามารถการรับความรู้สึกผ่านการ จดจำวัตถุจากประสาทสัมผัสทางกายและการรับความรู้สึกที่แขนและมือได้ดีกว่าการฟื้นฟูด้วยวิธีทางกิจกรรมบำบัด ทั่วไปเพียงอย่างเดียว ทางด้านความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหวของรยางค์สำนบนเปลี่ยนแปลงของคะแนนที่ เพิ่มขึ้น แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ จากผลการศึกษาจึงสรุปได้ว่า เทคนิค sensory retraining ร่วมกับการ ฟื้นฟูด้วยวิธีทางกิจกรรมบำบัดทั่วไป เป็นเทคนิดที่สามารถช่วยเพิ่มความสามารถของการรับความรู้สึกของแขนและมือ ข้างที่อ่อนแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

กองโรคไม่ติดต่อ. จำนวนและอัตราตายโรคไม่ติดต่อ ปี 2559 - 2561 (รวม 4 โรคความดันโลหิตสููง เบาหวาน, หัวใจขาดเลือด หลอดเลือดสมอง หลอดลมอักเสบ, ถุงลมโป่งพอง) [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ 24 ก.ย 2562]. แหล่งข้้อมูล: http://www.thaincd.com/2016/mission/ documents-detail.php?id=13653&tid=32&gid=1-020

ราตรี สุดทรวง, วีระชัย สิงหนิยม. ประสาทสรีรวิทยา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2545.

Carey L, Macdonell R, Matyas TA. SENSe: Study of the effectiveness of

neurorehabilitation on sensation: A ran¬domized controlled trial. Neurorehabil Neural Repair 2011;25(4):304-13.

Carlsson H, Rosén B, Pessah-Rasmussen H, Björkman A, Brogårdh C. SENSory re-learning of the UPPer limb after stroke (SENSUPP): Study protocol for a pilot ran-domized controlled trial. Trials 2018;19(1):1-8.

Jacqueline L. The Gale encyclopedia of nursing and allied health. 2nd ed. Detroit: Thomson Gale; 2006.

O’Sullivan SB. Examination of motor function. In: O’Sullivan SB, Schmitz TJ, editors. Physical rehabilita¬tion: assessment and treatment. 2nd ed. Philadelphia: FA Davis; 2007. p. 227-36.

Bernard R. Fundamentals of biostatistics. 5th ed. Duxbery:Thaomson Learning; 2000.

Yekutiel M, Guttman E. A controlled trial of the retraining of the sensory function of the hand in stroke patients. Journal of Neurology, Neurosurgery, and Psychiatry 1993;56(3):241-4.

Abela E, Missimer JH, Pastore-Wapp M, Krammer W, Wiest R, Weder BJ. Early prediction of long-term tactile object recognition performance after sensorimotor stroke. Cortex 2019;115:264-79.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-08-31

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้