แปรงสีฟันพร้อมตัวล็อคท่อดูดน้ำลายสำหรับผู้ป่วยติดเตียง
คำสำคัญ:
ผู้ป่วยติดเตียง, การแปรงฟัน, ผู้ดูแล, การดูแลสุขภาพช่องปากบทคัดย่อ
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข กำหนดเป้ าหมายให้คนไทยควรมีอายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพ ดีไม่น้อยกว่า 75 ปี คือ มีสุขภาพแข็งแรงช่วยเหลือตนเองได้ สุขภาพช่องปากของผู้ป่ วยติดเตียงมีความสำคัญต่อ สุขภาพทั่วไป และความยืนยาวของชีวิต ซึ่งปัจจัยหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับการมีชีวิตยืนยาว (life span) คือ การมีฟัน เคี้ยวอาหารได้ คลินิกหมอครอบครัวเครือข่ายโรงพยาบาลมหาสารคามมีทันตแพทย์รับผิดชอบ มีผู้ป่ วยติดเตียงทั้งหมด 31 คน เป็นผู้ที่ไม่สามารถทำความสะอาดช่องปากเองได้จำเป็นต้องพึ่งพาผู้ดูแลเนื่องจากความทุพลภาพของร่างกาย ต้องอาศัยบทบาทของผู้ดูแลในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีเพื่อคงสุขภาพช่องปากที่ดีและป้ องกันโรค โดย การทำความสะอาดปากและฟันของผู้สูงอายุทุกวันอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา นวัตกรรมแปรงสีฟันพร้อมตัวล็อคท่อดูดน้ำลายให้ผู้ดูแลสามารถแปรงฟันให้ผู้ป่ วยติดเตียงอย่างมีประสิทธิภาพ ลด การสำลักน้ำลายขณะแปรงฟัน ลดเชื้อก่อโรคในช่องปาก ซึ่งเป็นการลดการเกิดโรคฟันผุและเหงือกอักเสบในผู้ป่ วยติดเตียง และลดเวลาในการแปรงฟันผู้ป่ วยติดเตียงให้สะอาดโดยมีเวลาลดลงจาก 20.2 นาที เหลือ 12.4 นาที ช่วย ในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของผู้ป่ วยติดเตียงได้เป็นอย่างดี จึงควรขยายการใช้งานนวัตกรรมนี้ในพื้นที่อื่นๆ ให้ กว้างขวางต่อไป
Downloads
เอกสารอ้างอิง
สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. แนวทางการดำเนินงาน ทันตสาธารณสุขประจำปี 2561. นนทบุรี: สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย; 2561.
ณัฐพงศ์ วงศ์วิวัฒน์. การดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุที่ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [สืบค้นเมื่อ 2 ม.ค. 2562]. แหล่งข้อมูล: https://www.thaipost.net/ main/detail/8190
เกรียงศักดิ ธรรมอภิพล, สุพัตรา ศรีวณิชชากร, ปราณี สุทธิสุคนธ์, สมชาย วิริภิรมย์กูล. รูปแบบการจัดการดูแลระยะยาวกลุ่มผู้สูง อายุติดเตียงโดยชุมชน. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัย และพัฒนาคนพิการ2555; 8(11):20-41.
ประกล พิบูลย์โรจน์, วรางคณา เวชวิธี, ดาวเรือง แก้วขันตี, วิกุล วิสาลเสสถ์. ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตด้านทันต สุขภาพ กับพฤติกรรมทันตสุขภาพผู้สูงอายุ. วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม2560; 21(1); 2560
สิรินทร ฉันศิริกาญจน. สมรรถนะสมองของผู้ใหญ่และ ผู้สูงอายุไทยปัจจัยเสียงต่อภาวะสมองเสื่อม. วารสารพิษวิทยาไทย 2558;30(1):41-59.
สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. รายงานผลการสำรวจ สภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560. นนทบุรี: สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย; 2561.
กรมอนามัย. การส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ. นนทบุรี: สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2555.
ธาดา ทัศนกุล. ทีมหมอครอบครัวกับการควบคุมโรคไม่ ติดต่อเรื้อรังจากนโยบายไปสู่การปฏิบัติโอกาสและความ ท้าทาย. วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า 2561;35(2):231-8.
กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการดำเนินการคลินิกหมอ ครอบครัวสำหรับหน่วยบริการ. นนทบุรี: สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข; 2558.
Tada A, Watanabe T, Yokoe H, Hanada N, Tanzawa H. Oral bacteria influenced by the functional status of the elderly people and the type and quality of facilities for the bedridden. Journal of Applied Microbiology 2002;93(3):487-91.
ขวัญเรือน ชัยนันท์, สุรีย์ จันทรโมลี, ประภาเพ็ญ สุวรรณ, มยุนา ศรีสุภนันต์. การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง เทศบาลนครรังสิตจังหวัดปทุมธานี. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2561;5(1):91-107.
ชลการ ทรงศรี. รูปแบบการดูแลสุขภาพที่บ้านของโรง พยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลแม่นนท์ เมืองอุดรธานี. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2557;32(3): 155-61.
เบญจพร สุธรรมชัย, จิราพร เกศพิชญวัฒนา, นภัส แก้ว วิเชียร. การสังเคราะห์รูปแบบบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ แ บ บ บู ร ณ า ก า ร . ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร ส า ธ า ร ณ สุข 2558;2(6):1017-29.
เพ็ญศิริ อัตถาวงศ์, นิษฐนันท์ อนุสรณ์ประเสริฐ, ฮารูน สาด หลี. ผลของระบบเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียงประเภท 3 แบบ home nursing care (HNC) ในหน่วยบริการปฐมภูมิ. วารสาร เครือวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2560;4(1):73-85.
อัจนา แทนขำ, กนกพร จิวประสาท, ดวงกมล วัตราดุล. ผล ของการใช้แนวปฏิบัติการดูแลช่องปากในผู้ป่วยใส่ท่อ ช่วยหายใจในหอผู้ป่ วยวิกฤต. วารสารการพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก 2555;23(2):60-76.
Ishikawa A, Yoneyama T, Hirota K, Miyake Y, Miyatake K. Professional. Oral Health Care Reduces the Number of Oropharyngeal Bacteria. J Dent Res 2008;87(6):594-8.
Cabre´ M, Serra-Prat M, Force L, Almirall J, Palomera E, Clave´ P. Oropharyngeal dysphagia is a risk factor for readmission forpneumonia in the very elderly persons: observational prospective study. J GerontolA Biol Sci Med Sci 2013;69(3):330-7.
Senpukua H, Sogameb A, Inoshitac E, Tsuhaa Y, Miyazakid H, Hanadae N. Systemic Diseases in association with microbial species in oral biofilm from elderly requiring care. Gerontology 2003;49:301-9.
Ajwani S, Jayanti S, Burkolter N, Anderson C , Bhole S, Itaoui R, et al. Integratedoral health care for stroke patients e a scopingreview. J Clin Nurs 2017;26:891- 901.
Huang S, Chiou C, Liu H. Risk factors of aspiration pneumonia related to improper oral hygiene behavior incommunity dysphagia persons with nasogastric tube feeding.Journal of Dental Sciences 2017;12:375-81.
Talbot A, Brady M, Furlanetto DL, Frenkel H, Williams BO. Oralcare and stroke units. Gerodontology 2005; 22:77-83.
Dickson-Swift V, Kenny A, Farmer J, Gussy M, Larkins S. Measuring oral health literacy: a scoping review of existing tools. BMC Oral Health 2014;14(1):148.
Okabe Y, Takeuchi K, Izumi M, Furuta M, Takeshita T , Shibata Y, et al. Posterior teeth occlusion and dysphagia risk in older nursing home residents: a cross-sectional observational study. J Oral Rehabil 2017;44(2):89-95.
กรมอนามัย. การดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุติดบ้าน ติด เตียง คู่มือสำหรับครอบครัวผู้ดูแล. นนทบุรี: สำนักทันต สาธารณสุข กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข; 2559.
รุ่งทิวา ชอบชื่น, โฉมพิไล นันทรักษา. การดูแลความสะอาด ทางช่องปาก. ศรีนครินทร์เวชสาร 2015;30(Suppl):1-4.
อาณัติ มาตระกูล, จรัญญา หุ่นศรีสกุล, อัจฉรา วัฒนาภา. ประสิทธิผลในการใช้การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ ผู้ดูแลในการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุติดเตียง [วิทยานิพนธ์]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2560.
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.