การออกกำลังกายหลังการผ่าตัดรักษาเอ็นข้อไหล่

ผู้แต่ง

  • เพ็ญพิชชา ลิขิตสุวรรณ ศูนย์กายภาพบำบัด คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ภัทรจรี จันทร์ศิริ ศูนย์กายภาพบำบัด คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยม
  • เยาวภา ใจรักดี ศูนย์กายภาพบำบัด คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

เอ็นข้อไหล่, การออกกำลังกาย, หลังการผ่าตัด

บทคัดย่อ

ภาวะเอ็นข้อไหล่ฉีกขาด (rotator cuff tear) เป็นภาวะที่พบได้บ่อย เป็นต้นเหตุสำคัญของอาการปวดไหล่ และ การสูญเสียการใช้งานของข้อไหล่ โดยเฉพาะในผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปี สามารถพบได้เพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น นอกจากทำให้เกิดอาการปวดทีรุนแรงหรือเรื้อรังแล้ว ภาวะนี้ยังทำให้เกิดการฝ่อลีบของกล้ามเนื้อ สูญเสียความแข็งแรง และการทำงานของข้อไหล่ ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตได้เป็นอย่างมาก การดูแลรักษาภาวะดังกล่าว สามารถ ทำได้ทั้งแบบประคับประคอง (conservative treatment) และการผ่าตัดรักษา (surgical treatment) แม้ว่าการผ่าตัด เอ็นข้อไหล่จะช่วยแก้ไขรอยโรคได้โดยตรง แต่หลังผ่าตัดผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการฟื้ นฟูที่เหมาะสม จึงจะทำให้เกิด ผลการรักษาที่ดีอย่างเต็มที่ โดยเป้ าหมายหลักของการฟื้ นฟูหลังการผ่าตัด คือ เพื่อลดอาการปวด ลดการอักเสบ ป้ องกันการฉีกขาดซ้ำของเอ็นกล้ามเนื้อที่ได้รับการผ่าตัด ป้ องกันการยึดติดของข้อไหล่ ฟื้ นฟูความแข็งแรง เพิ่ม ประสิทธิภาพการทำงานของกล้ามเนื้อ และช่วยให้สามารถกลับมาใช้งาน ทำกิจกรรมต่างๆ ได้ดังเดิม บทความนี้ กล่าวถึงแนวทางการฟื้ นฟูข้อไหล่หลังการผ่าตัดรักษาเอ็นข้อไหล่ที่เหมาะสมตามระยะเวลาต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ และปลอดภัย

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

Hsu HC, Luo ZP, Cofield RH, An KN. Influence of rotator cuff tearing on glenohumeral stability. J Shoulder Elbow Surg 1997;6(5):413-22.

Tempelhof S, Rupp S, Seil R. Age-related prevalence of rotator cuff tears in asymptomatic shoulders. J Shoulder Elbow Surg 1999;8(4): 296-9.

Moosmayer S, Smith HJ, Tariq R, Larmo A. Prevalence and characteristics of asymptomatic tears of the rotator cuff: an ultrasonographic and clinical study. J Bone Joint Surg Br 2009;91(2):196-200.

Keener JD, Galatz LM, Teefey SA, Middleton WD, Steger-May K, Stobbs-Cucchi G, et al. A prospective evaluation of survivorship of asymptomatic degenerative rotator cuff tears. J Bone Joint Surg Am 2015;97(2): 89-98.

Kim HM, Teefey SA, Zelig A, Galatz LM, Keener JD, Yamaguchi K. Shoulder strength in asymptomatic individuals with intact compared with torn rotator cuffs. J Bone Joint Surg Am 2009;91(2):289-96.

Hatakeyama Y, Itoi E, Pradhan RL, Urayama M, Sato K. Effect of arm elevation and rotation on the strain in the repaired rotator cuff tendon: a cadaveric study. Am J Sports Med 2001;29(6):788-94.

Yamamoto N, Itoi E. A review of biomechanics of the shoulder and biomechanical concepts of rotator cuff repair. Asia Pac J Sports Med Arthrosc Rehabil Technol 2015; 2(1):27-30.

Neer CS, Poppen NK. Supraspinatus outlet. Orthop Trans 1987;11:234.

Yadav H, Nho S, Romeo A, MacGillivray JD. Rotator cuff tears: pathology and repair. Knee Surg Sports Traumatol Arthrosc 2009;17:409-21.

Rudzki JR, Adler RS, Warren RF, Kadrmas WR, Verma N, Pearle AD, et al. Contrast-enhanced ultrasound characterization of the vascularity of the rotator cuff tendon: age and activity-related changes in the intact asymptomatic rotator cuff. J Shoulder Elbow Surg 2008;17:96- 100.

Sambandam SN, Khanna V, Gul A, Mounasamy V. Rotator cuff tears: An evidence based approach. World J Orthop 2015;6(11):902-18.

Costouros JG, Porramatikul M, Lie DT, Warner JJ. Reversal of suprascapular neuropathy following arthroscopic repair of massive supraspinatus and infraspinatus rotator cuff tears. Arthroscopy 2007;23(11):1152-61.

Colvin AC, Egorova N, Harrison AK, Moskowitz A, Flatow EL. National trends in rotator cuff repair. J Bone Joint Surg Am 2012;94(3):227-33.

Nikolaidou O, Migkou S, Karampalis C. Rehabilitation after rotator cuff repair. Open Orthop J 2017;11: 154- 62.

Rokito AS, Zuckerman JD, Gallagher MA, Cuomo F. Strength after surgical repair of the rotator cuff. J Shoulder Elb Surg 1996;5:12-7.

Ghodadra NS, Provencher MT, Verma NN, Wilk KE, Romeo AA. Open, mini-open, and all-arthroscop ic rotator cuff repair surgery: indications and implications for Rehabilitation. J Orthop Sports PhysTher 2009;39(2): 81-9.

Sgroi TA, Cilenti M. Rotator cuff repair: post-operative rehabilitation concepts. Curr Rev Musculoskelet Med 2018; 11(1):86-91.

Oh JH, Yoon JP, Kim JY, Oh CH. Isokinetic muscle performance test can predict the status of rotator cuff muscle. Clin Orthop Relat Res 2010;468(6):1506-13.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-10-25

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

บทความปริทัศน์

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้