ผลของโปรแกรมการพัฒนาทุนชีวิต โดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ต่อพฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อำเภอนาจะหลวย จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
ทุนชีวิต, การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม, พฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์, วัยรุ่นบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาทุนชีวิตโดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อ พฤติกรรมการป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ก่อนและหลัง เข้าร่วมโปรแกรมพัฒนาทุนชีวิตโดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กลุ่ม ตัวอย่างเป็นนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนในพื้นที่อำเภอนาจะหลวย จังหวัด อุบลราชธานี จำนวน 31 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เข้ากลุ่มทดลอง 16 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 15 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ (1) โปรแกรมการพัฒนาทุนชีวิตโดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมในการป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยใช้แนวคิดทุนชีวิตของสุริยเดว ทรีปาตี ซึ่งประกอบด้วยพลัง 5 ด้าน ได้แก่ พลังตัวตน พลังครอบครัว พลังสร้างปัญญา พลังเพื่อนและกิจกรรม และพลังชุมชน ร่วมกับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของกรมสุขภาพจิต มีระยะเวลาดำเนินการ 6 สัปดาห์ และ (2) แบบสอบถามพฤติกรรมป้ องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีค่า ความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 1 และค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สถิติทดสอบ Wilcoxon และสถิติ Mann-Whitney U test ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้ องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
Downloads
เอกสารอ้างอิง
World Health Organization. Adolescent pregnancy [internet]. 2018 [cited 2018 Feb 15]. Available from: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/ adolescent-pregnancy
สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย. สถิติการคลอดของ แม่วัยรุ่นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561. นนทบุรี: สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย; 2561.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี. ผลการดำเนินงาน ปี 2563 [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พ.ย. 2563]. แหล่งข้อมูล: https://www.phoubon.in.th
องค์การยูนิเซฟประจำประเทศไทย. การวิเคราะห์สถานการณ์ การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในประเทศไทย รายงานการสังเคราะห์2558 [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [สืบค้นเมื่อ 21 ก.ย. 2561]. แหล่งข้อมูล: https://www.unicef.org/thailand/th/reports/รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในประเทศไทย
ฐิยาพร กันตาธนวัฒน์. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังชี้การแก้ไขและป้องกัน “เพศสัมพันธ์ใน วัยรุ่น”ล้มเหลว [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 28 พ.ค.2561]. แหล่งข้อมูล: https://siamrath.co.th/n/9522.
สุริยเดว ทรีปาตี. ต้นทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทย. นนทบุรี: แผนงานสุขภาวะเด็กและเยาวชน กระทรวงสาธารณสุข; 2552
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือฝึกอบรมแบบมี ส่วนร่วม. พิมพ์ครั้งที 3. นนทบุรี: วงศ์กมลโปรดักชั่น; 2543.
Cohen J. Statistical power analysis for the behavioral sciences [Internet]. 1988 [cited 2018 Feb 15]. Available from: https://www.utstat.toronto.edu/~brunner/oldclass/378f16/readings/CohenPower.pdf
บุษกร กนแกม. ผลของโปรแกรมส่งเสริมทักษะชีวิตแบบ มีส่วนร่วมในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ตอนต้น [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2562.
Bloom BS. Handbook on formative and summative evaluation of student learning. New York: McGraw-Hall; 1971.
Polit DF, Beck CT. Nursing research: generating and assessing evidence for nursing practice. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2012.
สุริยเดว ทรีปาตี. สร้างต้นทุน (ชีวิต) คุณทำได้. ปทุมธานี: รวมทวีผลการพิมพ์; 2552.
ทองทิพย์ สละวงษ์ลักษณ์, ธวัชชัย เอกสันติ. การพัฒนาการ จัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมรายวิชาเพศศึกษาเพื่อสร้างเสริมพฤติกรรมการป้ องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา [วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต]. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา; 2557.
พิราวัลย์ พิมพาเรือ. การเพิ่มทุนชีวิตเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง ในวัยรุ่นโดยชุมชนมีส่วนร่วมของชุมชนหนองผักก้าม เทศบาลเมืองเลย อำเภอเมืองจังหวัดเลย [รายงานการศึกษา อิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2554.
ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง, อัจฉราวดี ศรียัศักดิ์ , วนิดา ศรีพรมษา, รัชนี พจนา. การสอนเพศศึกษาในโรงเรียนตาม ความคิดเห็นของวัยรุ่นในชนบทอุดรธานี.วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ 2559;9(3):116-21.
รดาธร วงศ์นภดล. ผลของโปรแกรมการพัฒนาต้นทุนชีวิต ต่อการลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่นตอนต้น. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2559,32(3):61-7.
กชนิภา นราพินิจ. การพัฒนาทุนชีวิตเพื่อป้องกันพฤติกรรม เสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น [การศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2559.
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.