ปัจจัยด้านความรู้ของพยาบาลต่อความรุนแรงของโรคในผู้ป่วยผ่าตัดสมองจากเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นอะแรคนอยด์
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้ของพยาบาลในการดูแลผู้ป่ วย และปัจจัยทีมีผลต่อความรุนแรงของโรคในผู้ป่วยผ่าตัดสมองจากเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นอะแรคนอยด์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 60 คน และผู้ป่ วยที่ได้รับการผ่าตัดสมองแบบหนีบเส้นเลือดโป่ งพองจากเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นอะแรคนอยด์ จำนวน 60 คน ของโรงพยาบาลแห่งหนึ่งของภาคใต้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ส่วน ส่วนที่ 1 แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่ วย ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความรู้ของพยาบาล ในการดูแลผู้ป่ วย เครื่องมือวิจัยได้ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ค่า CVI = 1 และความเชื่อมั่น (reliability) = 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย multiple regression analysis ผลการวิจัย พบว่า ความรู้ของพยาบาลโดยรวม อยู่ในระดับมาก (Mean=4.21, SD=0.97) ส่วนความรู้ของพยาบาลรายด้าน พบว่า ด้านการดูดเสมหะ ต้องทำเท่าที่จำเป็นและ ระมัดระวัง คะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (Mean=4.60, SD=0.59) ปัจจัยด้านความรู้ของพยาบาลโดยรวม ด้านการอบรมเฉพาะทางวิกฤติ และความรู้รายด้าน ได้แก่ การพลิกตะแคงตัว การจัดท่าศีรษะและคอต่อการเกิด ความดันในกะโหลกศีรษะสูง มีอิทธิพลต่อระดับความรุนแรงของโรค ได้แก่ ปวดศีรษะปานกลางถึงรุนแรง คอแข็ง ร้อยละ 97.3 (R2 =0.973), 19.6 (R2 =0.196) และ 17.2 (R2 =0.172) ตามลำดับ ปัจจัยด้านความรู้ของพยาบาล โดยรวม และการอบรมเฉพาะทางวิกฤติ มีอิทธิพลต่อระดับความรุนแรงของโรค ได้แก่ โคม่าระดับลึก และมีอาการ แข็งเกร็งแบบ decerebration อาการระดับตรีทูต (moribund) ร้อยละ 50.2 (R2 =0.502) และร้อยละ 5.0 (R2 =0.050) ตามลำดับ
Downloads
เอกสารอ้างอิง
สวิง ปันจัยสีห์, นครชัย เผื่อนปฐม, กุลพัฒน์ วีรสาร. แนวทาง เวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตกสำหรับแพทย์ 2556 {อินเทอร์เน็ต}. {สืบค้นเมื่อ 8 พ.ศ. 2564}. แหล่งข้อมูล: https://www.slideshare.net/UtaiSukviwatsirikul/clinical-practice-guidelines-for-hemorrhagic-stroke
Witpholprasert S, editor. Thailand health profile 2008- 2011. Nonthaburi: Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health, Thailand; 2010.
Vivancos J, Gilo F, Frutos R, Maestre J, García-Pastor A, Quintana F, et al. Clinical management guidelines for subarachnoid hemorrhage. Diagnosis and treatment. Neurologia 2014 Jul-Aug;29(6):353-70.
Ziemba-Davis M, Bohnstedt BN, Payner TD, Leipzig TJ, Palmer E, Cohen-Gadol AA. Incidence, epidemiology, and treatment of aneurysmal subarachnoid hemorrhage in 12 mid-west communities. Stroke Cerebrovasc Dis 2014;23(5):1073-82.
Macdonald RL, Stoodley M, Weir B. Intracranial aneurysms. Neurosurgery Quartey. 2001;11(3):181-98.
Green DM, Burns JD, DeFusco CM. ICU management of aneurysmal subarachnoid hemorrhage. J Intensive Care Med 2013 Nov-Dec;28(6):341-54. doi: 10.1177/0885066611434100. Epub 2012 Feb 11. PMID: 22328599.
Klein A-M, Howell K, Straube A, Pfefferkorn T, Bender A. Rehabilitation outcome of patients with severe and prolonged disorders of consciousness after aneurysmal subarachnoid hemorrhage (aSAH). Clin Neurol Neurosurg 2013;115(10):2136-41.
Connolly ES Jr, Rabinstein AA, Carhuapoma JR, Derdeyn CP, Dion J, Higashida RT, et al. Guidelines for the management of aneurysmal subarachnoid hemorrhage: a guideline for healthcare professionals from the American Heart Association/american Stroke Association. Stroke 2012;43(6):1711-37.
บุบผา ไวยพัฒน์. การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดโรคหลอดเลือดแดงในสมองโป่งพอง: กรณีศึกษา. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย 2016;6(1):71-9.
Cianfoni A, Pravata E, De Blasi R, Tschuor CS, Bonaldi G. Clinical presentation of cerebral aneurysms. Eur J Radiol 2013;82(10):1618-22.
Hickey JV. The clinical practice of neurological and neurosurgical nursing. 7 ed. Philadelphia. Wolters Kluwer health; 2014.
สุพรพรรณ์ กิจบรรยงเลิศ, วงจันทร์ เพชรพิเชฐเชียร. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะหลอดเลือดสมองหดเกร็งจากเลือด ออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นอแรกนอยด์จากโรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง: กรณีศึกษา. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2562;35(1):24-35.
ศิริพร ศรีสมัย, นรลักขณ์ เอื้อกิจ และรุ้งระวี นาวีเจริญ. ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่ วยโรค หลอดเลือดแดงเอออร์ตาโป่งพองหลังผ่าตัด. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2557;34(2):17-38.
อัญชลี โสภณ, ผดุงศิษฏ์ ชำนาญบริรักษ์, ไพรวัลย์ พรมที, สุรกรานต์ ยุทธเกษมสันต์ และอรไท โพธิ์ ไชยแสน. การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บสมองระดับรุนแรง โดย ใช้การจัดการรายกรณี. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2560;29(3):126-38.
Fu Q, Wang Y, Zhang Y, Zhang Y, Guo X, Xu H, et al. Qualitative and quantitative wall enhancement on magnetic resonance imaging is associated with symptoms of unruptured intracranial aneurysms. Stroke 2021; 52(1):213-22.
กรกฎ สุวรรณอัคระเดชา, กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์ และพงษ์ วัฒน์ พลพงษ์. ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองโป่งพองที่มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นอาแรชนอยด์ หลังได้รับการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ เพื่อหนีบหลอดเลือดสมองโป่ งพอง. วารสารการปฏิบัติการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย 2561;5(1):75-93.
D’souza S. Aneurysmal subarachnoid Hemorrhage. J Neurosurg Anesthesiol. 2015;27(3):222–40.
Ayling OG, Ibrahim GM, Drake B, Torner JC, Macdonald RL. Operative complications and differences in outcome after clipping and coiling of ruptured intracranial aneurysms. J Neuro surg 2015;123(3):621-8.
Sadoughi A, Rybinnik I, Cohen R. Measurement and management of increased intracranial pressure. TOCCMI 2013;27;6(1):56-65.
Tsaousi GG, Logan SW, Bilotta F. Postoperative pain control following craniotomy: a systematic review of recent clinical literature. Pain Pract 2017;17(7):968- 81.
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.