ประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนการจัดการตนเอง ต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ร่วมกับความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้
คำสำคัญ:
การสร้างเสริมสุขภาพ, การจัดการตนเอง, เบาหวาน, ความดันโลหิตสูงบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนการ จัดการตนเอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที 2 ร่วมกับโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ ในคลินิกโรคเรื้อรัง จำนวน 82 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 41 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 41 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรม สร้างเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนการจัดการตนเองเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยตัวแปรตามก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรม ผลการศึกษา พบว่า ก่อนเข้าร่วมโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีค่าเฉลี่ยน้ำตาลสะสมในเลือด ความดันโลหิตตัวบนและ ตัวล่าง และพฤติกรรมการจัดการตนเอง ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 หลังเข้าร่วมโปรแกรม ค่าเฉลี่ย น้ำตาลสะสมในเลือด ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัวของกลุ่มทดลองต่ำกว่าก่อนการทดลองและต่ำกว่า กลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการจัดการตนเองของกลุ่มทดลอง สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และไม่มีความแตกต่างของ ความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัวระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ จึงเสนอแนะให้มีการนำโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับการสนับสนุนการจัดการตนเองมาใช้ในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ เพื่อพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Downloads
เอกสารอ้างอิง
World Health Organization. Global action plan for the prevention and control of noncommunicable diseases 2013-2020 [Internet]. [cited 2021 May 20]. Available from: http://www.who.int/iris/ handle/10665/94384
NCD Countdown 2030 Collaborators. NCD countdown 2030: worldwide trends in non-communicable disease mortality and progress towards Sustainable Development Goal Target 3.4. Lancet 2018;392(10152):1072–88.
World Health Organization. Noncommunicable diseases 2021 [Internet]. [cited 2021 May 20]. Available from: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/ noncommunicable-disease
Pender NJ, Murdaugh CL, Parsons MA. Health promotion in nursing practice. 7th ed. New Jersey: Pearson; 2015.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. รายงานผลการ ดำเนินงานเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม สุขภาพของประชาชนกลุ่มเป้ าหมายการดำเนินงาน ปี งบประมาณ พ.ศ. 2560. นนทบุรี: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ; 2560.
วิชัย เทียนถาวร, วณิชา ชื่นกองแก้ว, วสุธร ตันวัฒนกุล, พยงค์ เทพอักษร. การพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมสุขภาพด้าน การส่งเสริมและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังภายใต้โครงการ สร้างชุมชนสุขภาวะด้วยสบช. โมเดล 2022: 1 วิทยาลัย 1 ชุมชน เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว(2565-2567). วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2565;5(2):187-94.
กองโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรค. ข้อมูลโรคไม่ติดต่อ พ.ศ. 2559 [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 20 พ.ค. 2564]. แหล่ง ข้อมูล: http://www.thaincd.com/2016/mission/documents-detail.php?id=13684&tid=32&gid=1-02
Shahaj O, Denneny D, Schwappach A, Pearce G, Epiphaniou E, Parke HL, et al. Supporting self-management for people with hypertension: a meta-review of quantitative and qualitative systematic reviews. J Hypertens 2019; 37(2):264-79.
Van Hecke A, Heinen M, Fernandez-Ortega P, Graue M, Hendriks JM, Hoy B, et al. Systematic literature review on effectiveness of self-management support interventions in patients with chronic conditions and low socioeconomic status. J Adv Nurs 2017;73(4):775–93.
Allegrante JP, Wells MT, Peterson JC. Interventions to support behavioral self-management of chronic diseases. Ann Rev Public Health 2019;40(1):127-46.
Angwenyi V, Aantjes C, Bunders-Aelen J, Lazarus JV, Criel B. Patient–provider perspectives on self-management support and patient empowerment in chronic care: A mixed-methods study in a rural sub-Saharan setting. J Adv Nurs 2019;75(11):2980-94.
Glasgow RE, Emont S, Miller DC. Assessing delivery of five ‘As’ for patient-centered counseling. Health Promot Int 2006;21(3):245-55.
Cohen J. Statistical power analysis. Curr Dir Psychol Sci 1992;1(3):98-101.
Polit DF, Beck CT. Nursing research: generating and assessing evidence for nursing practice. 11th ed. Philadelphia: Wolters Kluwer; 2021.
Pallant J .SPSS survival manual: a step by step guide to data analysis using SPSS program. 6th ed. London: McGraw-Hill Education; 2016.
Dineen-Griffin S, Garcia-Cardenas V, Williams K, Benrimoj SI. Helping patients help themselves: a systematic review of self-management support strategies in primary health care practice. PloS one 2019;14(8): e0220116.
Cutler S, Crawford P, Engleking R. Effectiveness of group self-management interventions for persons with chronic conditions: a systematic review. Medsurg Nursing 2018; 27(6):359-67.
Brady TJ, Sacks JJ, Terrillion AJ, Colligan EM. Operationalizing surveillance of chronic disease self-management and self-management support. Prev Chronic Dis 2018;15:E39.
Hisni D, Rukmaini R, Saryono S, Chinnawong T, Thaniwattananon P. Cardiovascular self-management support program for preventing cardiovascular complication behaviors and clinical outcomes in the elderly with poorly controlled type 2 diabetes mellitus in Indonesia: A pilot study. Japan Journal of Nursing Science 2019; 16(1):25-36.
Hughes S, Lewis S, Willis K, Rogers A, Wyke S, Smith L. How do facilitators of group programmes for long-term conditions conceptualise self-management support? Chronic Illness 2020;16(2):104-18.
Carpenter R, DiChiacchio T, Barker K. Interventions for self-management of type 2 diabetes: an integrative review. Int J Nurs Sci 2018;6(1):70-91.
พรฤดี นิธิรัตน์, ราตรี อร่ามศิลป์ , จารุณี ขาวแจ้ง, วรรณศิริ ประจันโน, เสาวภา เล็กวงษ์, อมาวสี อัมพันศิริรัตน์. ผลของ โปรแกรมการจัดการตนเองของผู้ที่อ้วนและมีไขมันในเลือด สูงในจังหวัดจันทบุรี: กรณีประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังตำบลท่าช้าง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2563;29(6):1025-34.
Grillo A, Salvi L, Coruzzi P, Salvi P, Parati G. Sodium intake and hypertension. Nutrients 2019;11(9):1970.
Tomitani N, Kanegae H, Kario K. Self-monitoring of psychological stress-induced blood pressure in daily life using a wearable watch-type oscillometric device in working individuals with hypertension. Hypertension Research 2022;7(45):1531-1537.
Shi L, Zhang D, Wang L, Zhuang J, Cook R, Chen L. Meditation and blood pressure: a meta-analysis of randomized clinical trials. J Hypertens 2017;35(4):696- 706.
Hayes P, Ferrara A, Keating A, McKnight K, O’Regan A. Physical activity and hypertension. Reviews in Cardiovascular Medicine 2022;23(9):302.
Holwerda SW, Luehrs RE, DuBose L, Collins MT, Wooldridge NA, Stroud AK, et al. Elevated muscle sympathetic nerve activity contributes to central artery stiffness in young and middle-age/older adults. Hypertension 2019;73(5):1025-35.
Han TC, Lin HS, Chen CM. Association between chronic disease self-management, health status, and quality of life in older Taiwanese adults with chronic illnesses. Healthcare 2022;10(4):609-23
Tshiananga JK, Kocher S, Weber C, Erny-Albrecht K, Berndt K, Neeser K. The effect of nurse-led diabetes self-management education on glycosylated hemoglobin and cardiovascular risk factors: a meta-analysis. Diabetes Educ 2012;38(1):108-23.
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.