รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดสมาร์ทโฟน ตำบลชื่นชม อำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • ชยพล ยะวร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชื่นชม อำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม
  • พิมพ์ชนก โสภา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนสวรรค์ อำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม
  • สุจิตรา ยะวร โรงพยาบาลเชียงยืน อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ติดสมาร์ทโฟน, ปัจจัยที่มีผลต่อการติดสมาร์ทโฟน, การมีส่วนร่วมของชุมชน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของเด็ก ปัจจัยที่มีผลต่อการติดสมาร์ทโฟน พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้ องกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดสมาร์ทโฟน และประเมินผลการดำเนิน งานตามรูปแบบการป้ องกันและแก้ไขปัญหาเด็กติดสมาร์ทโฟน ตำบลชื่นชม อำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม รูป แบบการวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ประกอบด้วยวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่าง 86 คน และวิจัยเชิง ปฏิบัติการ จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม แบบวัดความรู้ แบบประเมินการติด สมาร์ทโฟน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยสถิติเชิงพรรณนา หาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟนกับ ปัจจัยต่างๆ ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุโลจิสติกส์ ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ดำเนินการวิจัย ระหว่างเดือนมีนาคม 2563 – มกราคม 2564 ผลการศึกษาพบว่าเด็กมีพฤติกรรมติดสมาร์ทโฟน ร้อยละ 68.60 ปัจจัยที่มีผลต่อการติดสมาร์ทโฟนของเด็ก ได้แก่ การควบคุมของผู้ปกครองในระดับต่ำมีโอกาสติดสมาร์ทโฟน 5.44 เท่า (ORadj=5.44,95%CI=4.54-6.18, p=0.01) ระยะเวลาการใช้สมาร์ทโฟน 4 ชั่วโมงขึ้นไปมีโอกาสติดสมาร์ทโฟน 3.61 เท่า (ORadj=3.61, 95%CI=2.96-4.46, p=0.02) การมีความรู้เรื่องผลการใช้สมาร์ทโฟนในระดับต่ำมี โอกาสติดสมาร์ทโฟน 3.72 เท่า (ORadj=3.72, 95%CI=2.83-4.75, p=0.01) และทัศนคติต่อการใช้สมาร์ทโฟน ในระดับต่ำมีโอกาสติดสมาร์ทโฟน 4.81 เท่า (ORadj=4.81,95%CI=4.18-5.15, p=0.02) การป้ องกันและแก้ไข ปัญหาเด็กติดโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ด้วยเทคนิค AIC ได้รูปแบบ “ชื่นชม 3 ช. โมเดล” ได้แก่ ช.1: ชื่นชม คือการ ชื่นชม ให้รางวัล มอบใบประกาศ ครอบครัวต้นแบบ ช.2: ช่วยเหลือ คือการแนะนำให้เห็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้น และ ช.3: ชุมชน คือการมีนโยบายสาธารณะ สร้างวินัย ประเมินผลหลังกิจกรรมพบการติดสมาร์ทโฟนลดลงจากร้อยละ 68.60 เป็นร้อยละ 15.12

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

ทิพย์พาพร มหาสินไพศาล. เรียนรู้ที่จะอยู่รอดในยุค digital disruption. วารสารปัญญาภิวัฒน์ 2562 11(3):1-2.

ภัทริกา วงศ์อนันต์นนท์. พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของ เด็กและเยาวชน. วารสารพยาบาลทหารบก 2557;15(2): 173-78.

สุวิช ถิระโคตร, วีรพงษ์ พลนิกรกิจ. การวิเคราะห์องค์- ประกอบการใช้ประโยชน์สารสนเทศด้านสุขภาวะบน อินเทอร์เน็ตของผู้ สูงอายุ. วารสารสุขภาพจิตแห่ง ประเทศไทย 2560;27(3):68-79.

DQ Institute. Outsmart the cyber-pandemic: Empower every child with digital intelligence by 2020 [Internet]. [cited 2021 Apr 2]. Available from: https://www. dqinstitute.org/2018dq_impact_report/

ซิสโก้ ซีสเต็มส์. เผยคนไทยติดสมาร์ทโฟน 98% ใช้ตั้งแต่ ตื่นนอน ขาดไม่ได้ถึงลงแดง [อินเทอร์เน็ต]. 2556 [สืบค้น เมื่อ 3 มี.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://www.thairath. co.th/content/339760

Kuss DJ, Griffiths MD. Internet gaming addiction: A systematic review of empirical research. International Journal of Mental Health and Addiction 2012;10(2):278- 96.

Kwon M, Lee JY, Won WY, Park JW, Min JA, Hahn C, et al. Development and validation of a smartphone addiction scale (SAS). PloS One 2013;8(2):e56936.

Yang SY, Chen MD, Huang YC, Lin CY, Chang JH. Association between smartphone use and musculoskeletal discomfort in adolescent students. Journal of Community Health 2017;42(3):423-30.

Mashalla Y. Impact of computer technology on health: Computer Vision Syndrome (CVS). Medical Practice and Reviews 2014;5(3):20-30.

Lee KE, Kim S-H, Ha TY, Yoo YM, Han JJ, Jung JH, et al. Dependency on smartphone use and its association with anxiety in Korea. Public Health Reports 2016; 131(3):411-19.

ศักดิกร สุวรรณเจริญ, สุพัตรา ธรรมาอินทร์, สุวัฒนา เกิดม่วง, อังค์ริสา พินิจจันทร์, พรเลิศ ชุมชัย. พฤติกรรมและ ผลกระทบจากการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนปลายจังหวัดนนทบุรี. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2562;29(3):107-17.

Demirci K, Akgönül M, Akpinar A. Relationship of smartphone use severity with sleep quality, depression, and anxiety in university students. Journal of Behavioral Addictions 2015;4(2):85-92.

จุฑามาศ กิติศรี, รัญชนา หน่อคำ, คนึงนิจ เพชรรัตน์. พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนและการรับรู้ภาวะสุขภาพของ นักศึกษาพยาบาล. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2563;5(1):19-34.

Cho YR, Lee HJ. A study on a model for internet addiction of adolescents. Taehan Kanho Hakhoe Chi 2004; 34(3):541-51.

วราลี เดชพุทธวัจน์, บุฑบท พฤกษาพนาชาติ, ธนาธิป ปัญจ ขันธ์, วรากร แสงเงินชัย, ภาษิณีบุญญานันต์, สุภาริน ดุษฎี- วิจัย, และคณะ. ความสัมพันธ์ระหว่างอายุที่เริ่มใช้สื่อ อิเล็กทรอนิกส์และลักษณะสื่ออิเล็กทรอนิกส์กับพัฒนาการ ล่าช้าของเด็กอายุ 6 เดือน–5 ปี . วารสารโรงพยาบาลนครพิงค์ 2563;11(2):1-18.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชื่นชม อำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม. การสำรวจภาวะสุขภาพของประชาชน ตำบลชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม. มหาสารคาม: โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชื่นชม; 2563.

สุวภา บุญอุไร, ปาริฉัตร เอี้ยงสูง, พลธาวิน วัชทรธำรงค์, รัตนชัย เพ็ชรสมบัติ, จำเนียร สุวรรณชาติ, ชัยยา น้อยนารถ, และคณะ. โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการใช้สมาร์ท โฟนของเด็กและผู้ปกครองทีส่งผลต่อความฉลาดทางอารมณ์ ่ ของเด็กปฐมวัย. วารสารหาดใหญ่วิชาการ 2558;16(2): 127-37.

Kim SG, Park J, Kim HT, Pan Z, Lee Y, McIntyre RS. The relationship between smartphone addiction and symptoms of depression, anxiety, and attention-deficit/ hyperactivity in South Korean adolescents. Annals of General Psychiatry 2019;18(1):1-8.

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม. รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมเด็กปฐมวัย. มหาสารคาม: โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชื่นชม; 2562.

Creswell JW, Clark VLP. Designing and conducting mixed methods research. Thousand Oaks, CL: Sage publications; 2017.

Hsieh FY, Bloch DA, Larsen MD. A simple method of sample size calculation for linear and logistic regression. Statistics in Medicine 1998;17(14):1623-34.

Cha SS, Seo BK. Smartphone use and smartphone addiction in middle school students in Korea: prevalence, social networking service, and game use. Health Psychol Open 2018;5(1):2055102918755046.

Kemmis S, McTaggart R, Nixon R. The action research planner: Doing critical participatory action research. New York Springer Science & Business Media; 2013.

Smith WE. The creative power: Transforming ourselves, our organizations, and our world. New York: Routledge; 2009.

Feldt LS. The approximate sampling distribution of Kuder-Richardson reliability coefficient twenty. Psychometrika 1965;30(3):357-70.

สุภาวดี เจริญวานิช, รังสิมันต์ สุนทรไชยา. การพัฒนาแบบ ประเมินพฤติกรรมการติดสมาร์ทโฟนฉบับสั้นฉบับภาษาไทย (Development of Smartphone Addiction Scale: Thai Short Version (SAS-SV-TH)). วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2562;27(1):25-36.

Khalily MT, Loona MI, Bhatti MM, Ahmad I, Saleem T. Smartphone addiction and its associated factors among students in twin cities of Pakistan. JPMA 2020;70(8): 1357-62.

Buctot DB, Kim N, Kim JJ. Factors associated with smartphone addiction prevalence and its predictive capacity for health-related quality of life among Filipino adolescents. Children and Youth Services Review 2020;110:104758.29.

Van Deursen AJ, Bolle CL, Hegner SM, Kommers PA. Modeling habitual and addictive smartphone behavior: The role of smartphone usage types, emotional intelligence, social stress, self-regulation, age, and gender. Computers in Human Behavior 2015;45:411-20.

Koc M, Barut E. Development and validation of New Media Literacy Scale (NMLS) for university students. Computers in Human Behavior 2016;63:834-43.

ปทิตตา ทองเจือพงษ์. ปัจจัยและผลกระทบของการเสพติด สมาร์ทโฟนต่อประสิทธิภาพการทำงานโรคกลัวไม่มีสมาร์ท โฟนใช้. วารสารระบบสารสนเทศด้านธุรกิจ. 2559;2(3):40- 54.

ภัทราวดี หงส์เอก, ลลิดา วาระเพียง, จุฬาลักษณ์ ส่งมา, ฐิติรัตน์ เจนศิริรัตนากร. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสพติด สมาร์ทโฟนของกลุ่มเจเนอเรชันวาย. วารสารบริหารธุรกิจ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2562;2(3):129- 40.

Chou HL, Chou C. A quantitative analysis of factors related to Taiwan teenagers’ smartphone addiction tendency using a random sample of parent-child dyads. Computers in Human Behavior 2019;99:335-44.

Liang Q, Yu C, Xing Q, Liu Q, Chen P. The influence of parental knowledge and basic psychological needs satisfaction on peer victimization and internet gaming disorder among Chinese adolescents: a mediated moderation model. International Journal of Environmental Research and Public Health 2021;18(5):2397.

Livingstone S, Mascheroni G, Staksrud E. European research on children’s internet use: assessing the past and anticipating the future. New Media & Society 2018; 20(3):1103-22.

Lee G, Kim S, Yu H. Parental factors associated with smartphone overuse in preschoolers: a systematic review and meta-analysis. Journal of Korean Academy of Nursing 2020;50(3):349-68.

ภีรวัฒน์ นนทะโชติ. การพัฒนารูปแบบการป้องกันปัญหาการติดเกมคอมพิวเตอร์ของเยาวชนโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองอุตรดิตถ์. วารสารสังคมศาสตร์ วิชาการ 2558;8(1):1-13.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-06-29

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ