ผลของการพัฒนาแนวทางการฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหินปูนในหูชั้นในหลุดด้วยรูปแบบตรังโมเดล คลินิกลดเวียนศีรษะ งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลตรัง

ผู้แต่ง

  • วัชรินทร์ ทายะติ คลินิกลดเวียนศีรษะ งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลตรัง
  • ธิดาพร ไตรรัตนสุวรรณ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

คำสำคัญ:

กายภาพบำบัด, การฟื้นฟูสมรรถภาพการทรงตัว, โรคหินปูนในหูชั้นในหลุด

บทคัดย่อ

โรคตะกอนหินปูนในหูชั้นในหลุดเป็นสาเหตุของอาการเวียนศีรษะบ้านหมุนที่พบได้มากที่สุด โดยพบว่ายังไม่มี แนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในปัจจุบัน ดังนั้นงานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลตรัง จึงได้พัฒนาแนวทางฟื้ นฟูสมรรถภาพ ในผู้ป่วยโรคหินปูนในหูชั้นในหลุดด้วยรูปแบบตรังโมเดลและติดตามตัวชี้วัดของคลินิก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของการพัฒนาแนวทางการฟื้ นฟูผู้ป่ วยโรคหินปูนในหูชั้นในหลุดด้วยรูปแบบตรังโมเดลต่อตัวชี้วัดการพัฒนา คลินิกลดเวียนศีรษะ วิธีการศึกษาใช้การทบทวนข้อมูลย้อนหลังข้อมูลของผู้เข้ารับการบริการคลินิกลดเวียนศีรษะปี พ.ศ. 2559-2564 งานเวชสถิติ โรงพยาบาลตรัง จำนวน 1,032 ราย แสดงผลลัพธ์ตัวชี้วัดการพัฒนาคลินิกด้าน อัตราการจำหน่ายผู้ป่ วย จำนวนครั้งเฉลี่ยการเข้ารับการบริการ และความพึงพอใจของผู้รับบริการ ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาแนวทางสามารถเพิ่มอัตราการจำหน่ายผู้ป่ วยภายใน 5 ครั้ง ค่าเฉลี่ยการเข้ารับ ค่าเฉลี่ยของการเข้ารับ บริการในปี พ.ศ 2563 – 2564 อยู่ที่ 1.01 และ 1.71 ครั้งตามลำดับ และความพึงพอใจของผู้รับบริการเพิ่มมาก ขึ้น สรุปการวิจัยครั้งนี้พบว่า การพัฒนาแนวทางการฟื้ นฟูผู้ป่ วยโรคหินปูนในหูชั้นในหลุดด้วยรูปแบบตรังโมเดลสามารถ เพิ่มผลลัพธ์ของตัวชี้วัดทางคลินิกเมื่อเเทียบกับก่อนการพัฒนา

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

ปารยะ อาศนะเสน. โรคตะกอนหินปูนในหูชั้นในหลุด [อินเทอร์เน็ต]. 2554 [สืบค้นเมื่อ 22 ส.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail. asp?aid=901

Hall CD, Herdman SJ, Whitney SL, Cass SP, Clendaniel RA, Fife TD, et al. Vestibular rehabilitation for peripheral vestibular hypofunction: an evidence-based clinical practice guideline: from the American physical therapy association neurology section. J Neurol Phys Ther 2016;40(2):124-55.

Deming WE. Out of the crisis. Cambridge, MA: MIT Press; 1986.

วัชรินทร์ ทายะติ. การให้บริการการฟื้นฟูสมรรถภาพการ ทรงตัวผู้ป่วยโรคหินปูนในหูชั้นในหลุด คลินิกลดเวียนศีรษะ งานกายภาพบำบัด โรงพยาบาลศูนย์ตรัง (BPPV assessment and treatment algorithm: Trang model) [อินเทอร์เน็ต]. 2021 [สืบค้นเมื่อ 22 ส.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: http:// www.tranghos.go.th/index.php/2019-06-26-09-38- 44/1239-2021-11-25-04-36-22

Hizal E, Jafarov S, Erbek SH, Ozluoglu LN. Clinical interpretation of positional nystagmus provoked by both Dix-Hallpike and supine head-roll tests. J Int Adv Otol [Internet]. 2022 [cited 2022 Aug 22];18(4):334–9. Available from: http://dx.doi.org/10.5152/iao.2022. 21461

Chen PY, Jheng YC, Huang SE, Li PH, Wei SH, Schubert MC, et al. Gaze Shift Dynamic Visual Acuity: A Functional test of gaze stability that distinguishes unilateral vestibular hypofunction. J Vestib Res. 2021[cited 2022 Aug 22];31(1):23-32. Available from: http://dx.doi. org/10.3233/VES-201506

Lee JY, Lee IB, Kim MB. Correlation between residual dizziness and modified clinical test of sensory integration and balance in patients with benign paroxysmal positional vertigo. Res Vestib Sci [Internet]. 2021[cited 2022 Aug 22];20(3):93–100. Available from: http://dx.doi. org/10.21790/rvs.2021.20.3.93

Cohen HS, Gottshall KR, Graziano M, Malmstrom EM, Sharpe MH, Whitney SL, et al. International guidelines for education in vestibular rehabilitation therapy. J Vestib Res [Internet]. 2011[cited 2022 Aug 22];21(5):243– 50. Available from: http://dx.doi.org/10.3233/VES2011-0424

Plus by Physiopedia. Plus instructor Bernard Tonks [Internet]. Physio-pedia.com. [cited 2022 Aug 22]. Available from: https://members.physio-pedia.com/instructor/bernard-tonks/

Horak FB. Postural orientation and equilibrium: what do we need to know about neural control of balance to prevent falls? Age and Ageing [Internet]. 2006[cited 2022 Aug 22];35(suppl_2):ii7-ii11. Available from: https:// academic.oup.com/ageing/article/35/suppl_2/ ii7/15654

Gaerlan M, Alpert PT, Cross C, Louis M, Kowalski S. Postural balance in young adults: the role of visual, vestibular and somatosensory systems. J Am Acad Nurse Pract [Internet]. 2012[cited 2022 Aug 22];24(6):375– 81. Available from: http://dx.doi.org/10.1111/j.1745- 7599.2012.00699.x

Chen Y, Zheng J, Wu D, Zhang Y, Lin Y. Application of the PDCA cycle for standardized nursing management in a COVID-19 intensive care unit. Ann Palliat Med [Internet]. 2020 [cited 2022 Aug 22];9(3):1198–205. Available from: https://apm.amegroups.com/article/ view/43455/html

Bhattacharyya N, Gubbels SP, Schwartz SR, Edlow JA, El-Kashlan H, Fife T, et al. Clinical practice guideline: benign paroxysmal positional vertigo (update). Otolaryngol Head Neck Surg [Internet]. 2017[cited 2022 Aug 22];156(3_suppl):S1–47. Available from: http://dx. doi.org/10.1177/0194599816689667

Foster A, Croot L, Brazier J, Harris J, O’Cathain A. The facilitators and barriers to implementing patient reported outcome measures in organisations delivering health related services: a systematic review of reviews. J Patient Rep Outcomes [Internet]. 2018 [cited 2022 Aug 22];2(1):46. Available from: http://dx.doi.org/10. 1186/s41687-018-0072-3

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-06-29

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้