ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะสังคมแบบทางไกล สำหรับเด็กออทิสติก

ผู้แต่ง

  • เสาวลักษณ์ หมื่นเพชร งานกิจกรรมบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลหาดใหญ่จังหวัดสงขลา

คำสำคัญ:

โปรแกรมการฝึกทักษะสังคม, กิจกรรมบำบัด, บำบัดทางไกล, ออทิสติก, ผู้ดูแล

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยแบบผสมผสานครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการฝึกทักษะสังคมแบบทางไกล สำหรับเด็กออทิสติก ขั้นตอนการวิจัยเชิงปริมาณเป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กออทิสติกอายุ 7-12 ปีจำนวน 30 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน กลุ่มควบคุุมได้รับการฝึกทักษะสังคมแบบดั้งเดิิมโดยนักกิจกรรมบำบัด กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมทัักษะสังคม แบบทางไกลโดยผู้ดูแล ด้วยการบันทึกวิดีทัศน์และติดตามผลผ่านทางแอพลิเคชันไลน์ จำนวน 10 สัปดาห์ ภายหลัง เสร็จสิ้้นโปรแกรม สัมภาษณ์์เชิงลึกผู้ดูแลที่ใช้โปรแกรมการฝึกทักษะสังคมทางไกลจำนวน 15 คน วิเคราะห์ข้้อมูล เชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Chi-square, Paired t-test และIndependent t-test ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลองเด็กออทิสติกกลุ่มฝึกทักษะสังคมทางไกลมี คะแนนเฉลี่ยทักษะสังคมเพิ่่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.00) เช่นเดียวกับการฝึกทักษะสังคมแบบดั้งเดิมิ ส่่วนคะแนนเฉลี่ยทักษะสังคมระหว่างสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันทั้งก่อนและหลังทดลอง ผลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่า มีสาระสำคัญ 4 ประเด็นเกี่ยวกับการฝึกทักษะสังคมแบบทางไกล คือ (1) สร้างสัมพันธภาพและการเรีียนรู้ ใหม่่ (2) สะดวก ลดค่าใช้จ่าย เวลาและการเดินทาง (3) นำไปใช้และต่อยอดในชีวิตประจำวัน และ (4) ทางเลือกของ การรักษา แสดงให้เห็นว่่า โปรแกรมการฝึกทักษะสังคมแบบทางไกลสามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา เด็กออทิสติก โดยสร้างการมีส่วนร่วมจากครอบครัว เพื่อเป็นทางเลือกของการให้บริการ และสามารถดำ เนินการใน ลัักษณะสองวิธีควบคู่กัน

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

Centers for Disease Control and Preventio. Basics about autism spectrum disorder (ASD) [Internet]. 2022 [cited 2022 Apr 24]. Available from: https://www.cdc.gov/ ncbddd/autism/facts.html

ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. ออทิสติก [อินเทอร์์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2022]. แหล่งข้้อมููล: https://www.happy¬homeclinic.com/au02-autism.htm

นาถลดา ตะวันกาญจนโชติ. ทักษะทางสังคมของเด็ก ออทิสติกวัยเรียน. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุุขภาพจิิต 2559;30 (2):1–21.

ปณต โคตพัฒน์, มนัสวาสน์ โกวิทยา. ผลของการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดการศึกษาแบบใช้พื้นที่เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะทางสังคมสำหรับบุคคลออทิสติกวัยรุ่น. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา 2560;12(2):401–15.

Hotton M, Coles S. The effectiveness of social skills training groups for individuals with autismspectrum disorder. J Autism Dev Disord 2016;3 (1):68–81.

Olsson NC, Flygare O, Coco C, Görling A, Råde A, Chen Q, et al. Social skills training for children and adolescents with Autism Spectrum Disorder: A random¬ized controlled trial. J Am Acad Child Adolesc Psychi¬atry 2017;56(7):585–92.

Spain D, Blainey HS. Group social skills interventions for adults with high-functioning autismspectrum disor¬ders: a systematic review. Autism Int J Res Pract 2015; 19(7):874–86.

Deckers A, Muris P, Roelofs J, Arntz A. A group-ad¬ministered social skills training for 8-to 12-year-old, high-functioning children with Autism Spectrum Disor¬ders: an evaluation of its effectiveness in a naturalistic outpatient treatment setting. J Autism Dev Disord 2016; 46 (11):3493–504.

Krasny L, Williams BJ, Provencal S, Ozonoff S. Social skills interventions for the autism spectrum: essential ingredients and a model curriculum. Child Adolesc Psychiatr Clin N Am 2003;12 (1):107–22.

Mourad Ali Eissa Saad. A systemic review of autism spectrum disorder in children

and adolescents: social deficits and intervention. International Journal of Psycho - Educational Sciences 2017;6 (2):1-17

ธิรากร มณีรัตน์, พัชราภรณ์ เจนใจวิทย์, ภัทรา ฤชุวรารักษ์, ภัทราภรณ์ กาบกลาง, ปิยะวรรณ ศรีสุุรักษ์, พรมณี หาญหัก. การสร้างเสริมคุุณภาพชีวิตครอบครัวที่มีบุคคลออทิสติกในจังหวัดขอนแก่น ด้วยโปรแกรมฝึกทักษะสังคม. วารสารสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น 2563;2(1):107- 24.

เสาวลักษณ์ หมื่นเพชร, ฐิติมา องค์การธง. ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะสังคมแบบกลุ่มในเด็กออทิสติก. วารสารวิชาการเขต 12 2559;27(3):75-9.

Liratni M, Blanchet C, Pry R. A longitudinal (3 years) study of the development of four children with autism without mental retardation after 90 sessions of social skills training. L’Encephale 2016;42(6):529–34.

มะลิวัลย์ เรือนคำ ,พรเพ็ญ ศิริสัตยะวงศ์, ศุภลักษณ์ เข็มทอง, วัฒนารีอัมมวรรธน์, พรทิพย์พา ธิพายอม. ผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ต่อการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตและรูปแบบการให้บริการทางกิจกรรมบำบัดที่่ตอบสนองต่อยุคชีวิตวิถีใหม่. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุุข; 2565

Kasai T. From the “new normal” to a “new future”: a sustainable response to COVID-19. Lancet Reg Health West Pac 2020;4:100043.

Eshraghi AA, Li C, Alessandri M, Messinger DS, Esh¬raghi RS, Mittal R, et al. COVID-19: overcoming the challenges faced by individuals with autism and their families. Lancet Psychiatry 2020;7(6):481–3.

Latzer IT, Leitner Y, Karnieli-Miller O. Core experi¬ences of parents of children with autismduring the COVID-19 pandemic lockdown. Autism Int J Res Pract 2021;25 (4):1047–59.

Baweja R, Brown S, Edwards E, Murray M. COVID-19 pandemic and impact on patients with autism spectrum disorder. J Autism Dev Disord 2022;52(1):473–82.

Wallisch A, Little L, Pope E, Dunn W. Parent perspec¬tives of an occupational therapy telehealth intervention. Int J Telerehabilitation 2019;11(1):15–22.

Cason J Telehealth. A rapidly developing service deliv¬ery model for occupational therapy. Int J Telerehabilita¬tion 2014;6 (1):29–35.

World Federation of Occupational Therapists. World Federation of Occupational Therapists’ position statement on telehealth. Int J Telerehabilitation 2014;6 (1):37–9.

Grant C, Jones A, Land H. What are the perspectives of speech pathologists, occupational therapists and physio¬therapists on using telehealth videoconferencing for service delivery to children with developmental delays? A systematic review of the literature. Aust J Rural Health 2022;30(3):321-36.

Hung G, Fong K. Effects of telerehabilitation in occu¬pational therapy practice: a systematic review. Hong Kong J Occup Ther HKJOT 2019;32(1):3–21.

Sarsak S. Telerehabilitation services: a successful para¬digm for occupational therapy clinicalservices? Int Phys Med Rehabil 2020;5(2):93–8.

Bruininks RH, Woodcock RW, Weatherman RF, Hill BK. Scales of independent behavior - revised. Itasca, IL: Riverside Publishing; 1996

Vismara AL, Mccormick C, Young SG, Nadhan A, Monlux K. Preliminary findings of a telehealth approach to parent training in Autism. J Autism Dev Disord 2013; 43(1):2953–69.

Camden C, Silva M. Pediatric telehealth: Opportunities created by the COVID-19 and suggestions to sustain Its use to support families of children with disabilities. Phys Occup Ther Pediatr 2021;41(1):1-17.

Pompa-Craven P, Tierman E, Martino J, Lotfizadeh AD. Caregiver satisfaction with delivery of telehealth Autism services. Adv Neurodev Disord 2022;6(2):196-205.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-08-31

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ