ประสิทธิผลการบรรเทาอาการปวดของยาพอกสมุนไพร ร่วมกับกายบริหารด้วยท่าฤๅษีดัดตน 4 ท่า สำหรับผู้ป่วยปวดข้อเข่าหรือข้อเข่าเสื่อมในโรงพยาบาลสบปราบ จังหวัดลำปาง

ผู้แต่ง

  • วีรวัฒน์ ตันติบริรักษ์ โรงพยาบาลสบปราบ จังหวัดลำปาง
  • ธัญญาวดี มูลรัตน์ โรงพยาบาลสบปราบ จังหวัดลำปาง
  • นักวิจัยอิสระ จังหวัดลำปาง

คำสำคัญ:

ยาพอกสมุนไพร, ฤๅษีดัดตน, ปวดเข่า, ข้อเข่าเสื่อม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของยาพอกสมุนไพรร่วมกับการบริหารด้วยท่าฤๅษีดัดตน 4 ท่า ในการบรรเทาอาการปวดในผู้ป่ วยปวดเข่าและมีอาการของข้อเข่าเสื่อมในคลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสบปราบ จังหวัดลำปาง โดยใช้การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental study) แบบกลุ่มเดียว เพื่อประเมินประสิทธิผล ของการบรรเทาอาการปวด จึงได้วัดระดับความปวด (Pain score) และระดับความรุนแรงของอาการข้อเข่าเสื่อม (modified WOMAC score) ทั้งก่อนและหลังการรักษา โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่ วยปวดเข่าและมีอาการของข้อเข่า เสื่อมที่มีอายุมากกว่า 50 ปี ซึ่งเข้าเกณฑ์ในการวินิจฉัยโรคข้อเข่าเสื่อม ตามแนวทางของ American College of Rheumatology (ACR) classification criteria งานวิจัยนี้มีอาสาสมัครรวมทั้งสิ้น 29 คน อาสาสมัครที่เข้าเกณฑ์จะได้ รับการรักษาด้วยการพอกยาสมุนไพรสูตรร้อน จำนวน 5 ครั้ง ร่วมกับทำท่าบริหารฤๅษีดัดตน 4 ท่า โดยใช้ระยะเวลา รักษา 4 สัปดาห์ ผู้วิจัยแนะนำให้กลุ่มตัวอย่างทำท่าฤๅษีดัดตนอย่างต่อเนื่องตลอดการรักษา Pain score และ Modified WOMAC score ใช้ประเมินก่อนการรักษา ครั้งที่ 1 และหลังทำการรักษา ครั้งที่ 5 จากนั้นจึงนำค่าที่ได้มาวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติแบบ paired T-test จากการศึกษาพบว่า การพอกยาสมุนไพรสูตรร้อนร่วมกับทำท่าบริหารฤๅษีดัดตน 4 ท่า สามารถลดอาการปวดและลดระดับความรุนแรงของอาการเข่าเสื่อมได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) การศึกษานี้สามารถยืนยันประสิทธิผลของการพอกยาสมุนไพรสูตรร้อนร่วมกับการทำท่าบริหารฤๅษีดัดตน 4 ท่า ใน การช่วยลดอาการปวดและลดความรุนแรงของอาการปวดเข่าหรือข้อเข่าเสื่อมได้ ซึ่งสามารถใช้เป็นทางเลือกหนึ่งใน การช่วยรักษาผู้ป่ วยที่มีอาการปวดเข่าหรือข้อเข่าเสื่อม อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ. เชียงใหม่: สยามพิมพ์นานา; 2559.

สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติการ รักษาโรคข้อเข่าเสื่อม (guideline for the treatment of osteoarthritis of knee). กรุงเทพมหานคร: สมาคมรูมาติสซั่ม แห่งประเทศไทย; 2553.

สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. ตำราการตรวจรักษาโรคทั่วไปเล่ม 2: 350 โรคกับการดูแลรักษาและการป้องกัน. กรุงเทพมหานคร: โฮลิสติกพับลิชชิ่ง; 2551.

สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข. ข้อเข่าเสื่อม. นนทบุรี: ซีจีทูล; 2556.

Cross M, Smith E, Hoy D, Nolte S, Ackerman I, Fransen M, et al. The global burden of hip and knee osteoarthritis estimates from the global burden of disease 2010 study. Ann Rheum Dis 2014;73(7):1323-30.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง. ประชากรจำแนกเพศ กลุ่มอายุรายปี อำเภอสบปราบ [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้น เมื่อ 10 ธ.ค. 2562]. แหล่งข้อมูล: https://lpg.hdc.moph. go.th/hdc/reports/report.php?&cat_id=ac4eed1bddb 23d6130746d62d2538fd0&id=710884bc8d16f755073cf194970b064a

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. คู่มือการ ดูแลผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย; 2560.

Jeenapongsa R, Yoorathaworn K, Pongprayoon U, Sriwatanakul K. Anti-inflammatory activity of (E)-4- (3,4-dimethoxyphenyl) butadiene from Zingiber cassumuar Roxb. Journal of Ethnopharmacology 2003;87: 143-8.

Panthong A, Kanjanapothi D, Niwatananun W, Tuntiwachwuttikul P, Reutrakul V. Anti-inflammatory activity of compounds isolated from Zingiber cassumuar. Planta Medica 1990;56(6):655.

ประสาน ตั้งยืนยงวัฒนา. การเปรียบเทียบทางพฤกษเคมี และการหาปริมาณสารสำคัญในไพลสายพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม; 2555.

Chandra D, Gupta SS. Anti-inflammatory and anti-arthritic activity of volatile oil of Curcuma longa (Haldi). Indian J Med Res 1972;60(1):138-42.

Yegnanarayan R, Saraf AP, Balwani JH. Comparison of anti-inflammatory activity of various extracts of curcuma longa (Linn). Indian J Med Res 1972;64:601-8.

Kuptniratsaikul V, Dajpratham P, Taechaarpornkul W, Buntragulpoontawee M, Lukkanapichonchut P, Chootip C. Efficacy and safety of Curcuma domestica extracts compared with ibuprofen in patients with knee osteoarthritis: a multicenter study. Clin Interv Aging 2014;9:451- 8.

Liacini A, Sylvester J, Li WQ, Zafarullah M. Inhibition of interleukin-1 stimulated MAP kinases, activating protein-1 (AP-1) and nuclear factor kappa B (NF-kappa B) transcription factors down-regulates matrix metalloproteinase gene expression in articular chondrocytes. Matrix Biol 2002;21(3):251-62.

Kiuchi F, Iwakami S, Shibuya M, Hanaoka F, Sankawa U. Inhibition of prostaglandin and leukotriene biosynthesis by gingerols and diarylheptanoids. Chem Pharm Bull (Tokyo) 1992;40(2):387-91.

Yu J, Fang H, Chen Y, Yao Z. Identification of the chemical components of two Alpinia species. Zhongyao Tongbao 1988;13(6):354-6.

Dewhirst FE. Eugenol, a prototype phenolic prostaglandin synthetase inhibitor, it’s anti-inflammatory activity, its effects on sheep vestebular. New York: Rochester University; 1979.

Sundari SKK, Valarmathi R, Dayabaran D, Mohamed PN. Studies on the anti-inflammatory activity of Gugula Thiktha Kashayam (GTK). Indian Drugs 2001;38(7): 380-2.

Venkataranganna MV, Gopumadhavan S, Mitra SK, Anturlikar SD. Anti-inflammatory activity of JCB, a polyherbal formation. Indian Drugs 2000;37(11): 543- 6

Francisco V, Figueririnha A, Neves BM, Rodriguez CG, Lopes MC, Cruz MT, et al. Cymbopogon citratus as source of new and safe anti-inflammatory drugs: bio-guided assay using lipopolysaccharide-stimulated macrophages. Journal of Ethnopharmacology 2011; 133(2):818-27.

Ibrahim SM, El-Denshary ES, Abdallah DM. Geraniol, alone and in combination with pioglitazone, ameliorates fructose-induced metabolic syndrome in rats via the modulation of both inflammatory and oxidative stress status. PLOS One 2015;10(2):e0117516.

Sirikanokwilai R. Self-reliance in health. Mohanamai Journal 1999;8(6):54-6.

ชัญญาวีร์ ไชยวงศ์, วิระกาญจน์ สุเมธานุรักขกูล, ดาราพร รักหน้าที่, รจนา วรวิทย์ศรางกูร, รุ่งนภา ประยูรศิริศักดิ์ . ประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อสมรรถภาพ ทางกายและการลดความเจ็บปวดของผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2559;34(4): 133-41.

Weerasirirat P, Hongto K, Muanjai P, Nansawanf J. Effect of physical therapy management in mong with OA knee. Chonburi: Faculty of Allied Health Sciences Burapa University; 2015.

Khuntayod C, Panyadee K. The effects of Thai herbal bag pressed against the patients’ knee on patients with osteoarthritis knee. Primary Health Care Division Journal2014;12(4):43-9.

American College of Rheumatology Subcommittee on Osteoarthritis Guidelines. Recommendations for the medical management of osteoarthritis of the hip and knee. Arthritis & Rheumatism 2000;43(9):1905-15.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์การพิมพ์; 2542.

ยุทธนา นุ่นละออง, สุวัฒนา เกิดม่วง, วิสุทธิ์ โนจิตต์, ดวงใจ เกริกชัยวัน, มยุรี สิงห์เปี ย. ผลของโปรแกรมการบริหาร ข้อเข่าด้วยท่าฤๅษีดัดตนร่วมกับการประคบร้อนเพื่อบรรเทา ความปวดในผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม. วารสารพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข 2562;29(1):71-86.

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. ฤๅษีดัดตน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โพสต์พับลิชชิ่ง; 2556.

Altman R. Development of criteria for the classification and reporting of osteoarthritis. Arthritis and Rheumatism 1986;29(8):1039-49.

Wayne WD. Biostatistics: a foundation of analysis in the health sciences. 6th ed. New Jersey: John Wiley & Sons; 1995. 32. Rodriguez CS. Pain measurement in the elderly: a review. Pain Manag Nurs 2001;2(2):38-46. 33. Evcik D, Sonel B. Effectiveness of a home-based exercise therapy and walking program on osteoarthritis of the knee. Rheumatol Int 2002;22(3):103-6.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-08-30

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ