การพัฒนาหน่วยตรวจคัดกรองวัณโรคระดับชุมชนด้วยวิธี TB-LAMP สำหรับการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เขตสุขภาพที่ 7: นวัตกรรมวิทยาศาสตร์การแพทย์สู่นวัตกรรม การบริการสุขภาพในระดับชุมชน

ผู้แต่ง

  • อธิชา มหาโยธา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • สุทธิกานต์ สมบัติธีระ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • นุชจรี บุญพุด ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • วัจนา ช่างทอง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • จณิศรา ฤดีอเนกสิน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • พรทิพย์ ลัภนะกุล ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 ขอนแก่น กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

คำสำคัญ:

ผู้ป่วยวัณโรค, ห้องปฏิบัติการ, การตรวจคัดกรองวัณโรค, วิธีทีบีแลมป์

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการตรวจวัณโรคของโรงพยาบาลชุมชน เขตสุขภาพที่ 7 ให้มีขีดความสามารถการตรวจคัดกรองวัณโรคด้วยวิธี TB-LAMP เพื่อให้บริการตรวจค้นหาผู้ป่ วยวัณโรครายใหม่ เชิงรุกในพื้นที ซึ่งเป็นการสนับสนุนงานเร่งรัดแก้ปัญหาวัณโรค ในเขตสุขภาพที ่ 7 ด้วยการถ่ายทอดนวัตกรรมชุดตรวจ ่ DMSc TB FastAmp Kit ให้กับห้องปฏิบัติการในโรงพยาบาลชุมชนที่มีความพร้อมในการเปิดให้บริการ โดยมีขั้น ตอนการดำเนินงาน 3 ระยะ ประกอบด้วย (1) การศึกษานำร่องด้วยการประเมินชุดตรวจ DMSc TB FastAmp Kit เทียบวิธีเดิม คือ AFB staining (2) การพัฒนาต้นแบบห้องปฏิบัติการตรวจวัณโรคด้วยวิธี TB-LAMP ระดับชุมชน และ (3) การขยายห้องปฏิบัติการตรวจวัณโรคด้วยวิธี TB-LAMP ระดับชุมชนให้ครอบคลุมพื้นที จากผลการประเมิน ่ เบื้องต้นพบว่าวิธี TB-LAMP ด้วยชุดตรวจดังกล่าว สามารถนำมาปรับใช้ในการตรวจคัดกรองวัณโรคได้ และตรวจพบ ผลบวกในกลุ่มตัวอย่าง AFB Smear ให้ผลลบ ถึงร้อยละ 28.8 และเมื่อนำมาปรับใช้ในโรงพยาบาลชุมชนต้นแบบ ใน การตรวจคัดกรองผู้ป่ วยวัณโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงเชิงรุกด้วยนวัตกรรม 3X3X3X1Plus ในพื้นทีนำร่อง ทำให้ค้นหา ผู้ป่ วยวัณโรครายใหม่เพิ่มจากวิธี AFB staining ร้อยละ 10.2 ซึ่งเป็นส่วนหนุนเสริมให้ผลการดำเนินงานของนวัตกรรม ดังกล่าวเพิ่มขึ้นถึงสองเท่าเมื่อเทียบกับแนวทางเดิม ส่งผลให้เกิดการกำหนดแนวทางใหม่ในแก้ปัญหาวัณโรคระดับเขต ด้วยนวัตกรรมการบริการสุขภาพดังกล่าว ซึ่งครอบคลุมทุกอำเภอ และขยายหน่วยตรวจคัดกรองวัณโรคด้วยวิธี TBLAMP สู่ระดับชุมชน เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการคัดกรองใกล้บ้าน ทำให้ผู้ป่ วยได้รับการวินิจฉัยวัณโรค และเข้าสู่ระบบ การรักษาให้เร็วที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

World Health Organization. Global tuberculosis report 2022 [internet]. 2022 [cited 2022 Nov 1]. Available from: https://www.who.int/teams/global-tuberculosis-programme/tb-reports

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์วัณโรค ของประเทศไทย: สถานการณ์และยุทธศาสตร์วัณโรค. ใน: กองวัณโรค. แนวทางการควบคุมวัณโรคประเทศไทย พ.ศ. 2564. กรุงเทพมหานคร: กองวัณโรค กรมควบคุมโรค; 2564. หน้า 17-9.

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. รายงานการประชุม นำเสนอโครงการขับเคลื่อนงานตามนโยบายประเด็นมุ่งเน้น เขตสุขภาพที่ 7 ปี งบประมาณ พ.ศ.2565. กลุ่มงานยุทธศาสตร์และสารสนเทศ CIO, สำนักงาน เขตสุขภาพที่ 7,สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [สืบค้นเมื่อ 16 ม.ค. 2566]. แหล่งข้อมูล: http://www. healtharea.net/?page_id=4487

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แผนปฏิบัติการ ระดับชาติด้านการต่อต้านวัณโรค พ.ศ. 2560- 2564 (เพิ่มเติม พ.ศ. 2565): สถานการณ์และยุทธศาสตร์วัณโรค. ใน: กองวัณโรค. แนวทางการควบคุมวัณโรคประเทศไทย พ.ศ. 2564. กรุงเทพมหานคร: กองวัณโรค กรมควบคุมโรค; 2564. หน้า 21-3.

Cha J, Thwaites GE, Ashton PM. An evaluation of progress towards the 2035 WHO end TB targets in 40 high burden countries [Internet]. 2020 [cited 2022 Oct 6]. Available from: https://www.medrxiv.org/content/10. 1101/2020.10.02.20175307v2

Lönnroth K, Raviglione M. The WHO’s new end TB strategy in the post-2015 era of the sustainable development goals. Trans R Soc Trop Med Hyg 2016;110(3): 148-50.

Uplekar M, Weil D, Lonnroth K, Jaramillo E, Lienhardt C, Dias HM, et al. WHO’s new end TB strategy. Lancet 2015;385(9979):1799-801.

Noori MY, Ali Z, Wahidi SAA, Mughal MN, Sharafat S, Masroor M, et. al. False negativity in AFB Smear microscopy: An insight into the caveats of the most widely used screening tool for tuberculosis. J Pak Med Assoc 2016;66:1116-19.

Vilchèze C, Kremer L. Acid-fast positive and acid-fast negative Mycobacterium tuberculosis: The Koch paradox. Microbiol Spectr 2017;5(2):1-14.

Phetsuksiri B, Rudeeaneksin J, Srisungngam S, Bunchoo S, Klayut W, Sangkitporn S, et al. Loop-mediated isothermal amplification for rapid identification of Mycobacterium tuberculosis in comparison with immunochromatographic SD bioline MPT64 Rapid® in a high burden setting. Jpn J Infect Dis 2019;72(2):112-4.

สมพิศ ปินะเก. การศึกษานำร่องเพื่อเปรียบเทียบผลการ ตรวจวินิจฉัยวัณโรคปอด ด้วยชุดทดสอบ TB-LAMP และ GeneXpert MTB/RIF. วารสารเทคนิคการแพทย์และ กายภาพบำบัด 2563;31(3):221-7.

Vignesh R, Balakrishnan P, Shankar EM, Murugavel KG, Hanas S, Cecelia AJ, et al. Value of single acid-fast bacilli sputum smears in the diagnosis of tuberculosis in HIV positive subjects. J Med Microbio 2007;56(12): 1709-10.

Rahman F, Munshi SK, Mostofa Kamal SK, Matiur Rahman ASM, Noor R. Comparison of different microscopic methods with conventional TB culture. Stamford J Microbiol 2001;1(1):46-50.

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การคัดกรองและการ ตรวจวินิจฉัยวัณโรคและวัณโรคดื้อยา. ใน: กองวัณโรค. แนวทางการควบคุมวัณโรคประเทศไทย พ.ศ. 2564. กรุงเทพมหานคร: กองวัณโรค กรมควบคุมโรค; 2564. หน้า 45-50.

Phetsuksiri B, Klayut W, Rudeeaneksin J, Srisungngam S, Bunchoo S, Toonkomdang S, et al. The performance of an in-house loop-mediated isothermal amplification for the rapid detection of Mycobacterium tuberculosis in sputum samples in comparison with XpertMTB/RIF, microscopy and culture. Rev Inst Med Trop São Paulo 2020;62:1-6.

Centers for Disease Control and Prevention. TB diagnostic tool: Xpert MTB/RIF assay fact sheet. Division of Tuberculosis Elimination, National Center for HIV, Viral Hepatitis, STD, and TB Prevention [Internet]. 2016[cited 2023 Feb 1]. Available from: https://www.cdc. gov/tb/publications/factsheets/testing/xpert_mtb-rif. htm

Hillmann D, Rush-Gerder S, Boehmee C, Richter E. Rapid molecular detection of extrapulmonary tuberculosis by the automated GeneXpertMTB/RIF system. J Clin Microbiol 2011;49(4):1202-5.

Habiburrahman M, Ariq H, Handayani RRD. Combining LAMP and Au-Nanoprode to detect INH-RIF resistance accurately in tuberculosis: an evidence-based review. J Infect Dev Ctries 2021;15(11):1555-68.

Yang X, Huang J, Chen X, Xiao Z, Wang X, Chen Y, et al. Rapid and visual differentiation of Mycobacterium tuberculosis from the Mycobacterium tuberculosis complex using multiplex loop-mediated isothermal amplification coupled with a nanoparticle-based lateral flow biosensor. Front Microbiol 2021;12(708658):1-15.

Jeklon N, Keawliam P, Mukem D, Rudeeaneksin J, Srisungngam S, Bunchoo S, et al. Evaluation of an in-house loop-mediated isothermal amplification for Mycobacterium tuberculosis detection in a remote reference laboratory, Thailand. Rev Inst Med Trop São Paulo 2022;64(e57):1-6.

Neshani A, Zare H, Sadeghian H, Safdari H, Riahi-Zanjani B, Aryan Ehsan. A comparative study on visual detection of Mycobacterium tuberculosis by closed tube loop-mediated isothermal amplification: shedding light on the use of eriochome black T. Diagnostics 2023; 13(155):1-15.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-08-30

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้