ปัจจัยเสี่ยงการล้มด้านความแข็งแรงกล้ามเนื้อขาและการทรงตัวขณะเดินในผู้สูงอายุวัยต้น เขตเทศบาลตำบลเสาธงหิน จังหวัดนนทบุรี
คำสำคัญ:
ปัจจัยเสี่ยงการล้ม, ผู้สูงอายุ, การทรงตัวขณะเดิน, ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยงการล้มด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา และด้านการทรงตัว ขณะเดิน และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลการคัดกรองผู้สูงอายุวัยต้นทีเสี่ยงล้มจากปัจจัยดังกล่าวด้วย five times sit to stand test (FTSST) และด้วย timed up and go test (TUGT) ดำเนินการศึกษาแบบภาคตัดขวางในอาสาสมัครผู้สูงอายุวัยต้น 134 คน อายุเฉลี่ย 64.08±2.66 ปี ที่อาศัยในเขตเทศบาลตำบลเสาธงหิน จังหวัดนนทบุรี ประเมินปัจจัยเสี่ยงการล้มด้วย TUGT และ FTSST วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและทดสอบความสัมพันธ์ ของผลการคัดกรองปัจจัยเสี่ยงการล้มระหว่างการคัดกรองด้วย TUGT และ FTSST โดยใช้ Chi-square test ผลการ ศึกษาพบผู้สูงอายุวัยต้นมีปัจจัยเสี่ยงการล้มด้านความแข็งแรงกล้ามเนื้อขาเมื่อประเมินด้วย FTSST 36 คน (ร้อยละ 26.87) มีปัจจัยเสี่ยงการล้มด้านการทรงตัวขณะเดินเมื่อประเมินด้วย TUGT 10 คน (ร้อยละ 7.46) โดยเสี่ยงล้ม จากปัจจัยทั้งสองด้านร่วมกัน 7 คน (ร้อยละ 5.22) และพบว่า การคัดกรองปัจจัยเสี่ยงการล้มด้วย TUGT มีความ สัมพันธ์กับการคัดกรองปัจจัยเสี่ยงการล้มด้วย FTSST อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ X2 (1, N = 134) = 10.23, p<0.05 สรุปได้ว่า มีจำนวนอาสาสมัครผู้สูงอายุวัยต้นในเขตเทศบาลตำบลเสาธงหิน ทีมีปัจจัยเสี ่ ่ยงการล้มด้านความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขามากกว่าปัจจัยด้านการทรงตัวขณะเดิน และการประเมินการเสี่ยงล้มด้วย TUGT และ FTSST มี ความสัมพันธ์กัน ดังนั้น ผู้สูงอายุวัยต้นในเขตเทศบาลตำบลเสาธงหินควรได้รับการส่งเสริมสมรรถภาพร่างกาย ทั้ง ด้านความแข็งแรงกล้ามเนื้อขาและการทรงตัวขณะเดินเพื่อลดความเสี่ยงล้มจากปัจจัยเสี่ยงการล้มดังกล่าว
Downloads
เอกสารอ้างอิง
กรมสุขภาพจิต. 93 วันสู่สังคม“คนชรา” 5 จังหวัด? คนแก่ เยอะสุด-น้อยสุด [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้นเมื่อ 1 พ.ย. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://www.dmh.go.th/newsdmh/view.asp?id=30453
กรมกิจการผู้สูงอายุ. สถิติผู้สูงอายุ [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [สืบค้นเมื่อ 15 ก.ค. 2565]. แหล่งข้อมูลจาก: https:// www.dop.go.th/th/know/side/1/1/1159
นิภา ศรีช้าง, ลวิตรา ก๋าวี. รายงานการพยากรณ์การพลัดตก หกล้มของผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2560 - 2564 [อินเทอร์เน็ต]. 2559. [สืบค้นเมื่อ 1 พ.ย. 2564]. แหล่งข้อมูล: http://www.thaincd.com/document/file/violence/
ประเสริฐ อัสสันตชัย. ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ และการป้องกัน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ยูเนียนครีเอชั่น; 2554.
ปริศนา รถสีดา. การป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน: บทบาทพยาบาลกับการดูแลสุขภาพทีบ้าน. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย 2561;11(2):15-25.
ลัดดา เถียมวงศ์, จอม สุวรรณโณ. ปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัวบกพร่องของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท. วารสารพยาบาลตำรวจ 2557;6(2):56-69.
Rubenstein LZ, Josephson KR. The epidemiology of falls and syncope. Clin Geriatr Med 2002;18(2):141-58.
Rubenstein LZ. Falls in older people: Epidemiology, risk factors and strategies for prevention. Age Ageing 2006;35(2):ii37-ii41.
Viswanathan A, Sudarsky L. Balance and gait problems in the elderly. Handb Clin Neurol 2012;103:623-34.
พุฒิพงศ์ พลคำฮัก, วินัฐ ดวงแสนจันทร์, อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์, ใหม่ทิพย์ สิทธิตัน. การศึกษาค่าตัดแบ่งที่เหมาะสม ของการทดสอบการทรงตัวแบบเคลื่อนที่ในการทำนาย ความเสี่ยงต่อการล้มในผู้สูงอายุชุมชน. ศรีนครินทร์เวชสาร 2561;33(4):334-8.
พุฒิพงศ์ พลคำฮัก, บุญสิตา สุวรรณกุล, อรุณรัตน์ ศรีทะวงษ์. ความเที่ยงตรงของการทดสอบลุกจากนั่งขึ้นยืน 5 ครั้ง สำหรับประเมินความเสี่ยงต่อการล้มในผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารเทคนิคการแพทย์เชียงใหม่.2559;49(2):236-42.
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที 3. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น; 2535.
สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์. แนวทางการฟื้นฟูสภาพในผู้ป่วยโรคหัวใจ [อินเทอร์เน็ต]. 2553 [สืบค้นเมื่อ 27 ส.ค. 2565]. แหล่ง ข้อมูล: http://www.thaiheart.org/images/column_1291454908/RehabGuideline.pdf
Zelman DC, Hoffman DL, Seifeldin R, Dukes EM. Development of a metric for a day of manageable pain control: Derivation of pain severity cut-points for low back pain and osteoarthritis. Pain 2003;106(1-2):35- 42.
รุ่งชัย ชวนไชยะกูล. คู่มือรูปแบบการออกกำลังกายและสร้าง ผู้นำด้านการส่งเสริมสุขภาพ [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 6 ก.พ. 2566]. แหล่งข้อมูล: https://dol.thaihealth.or.th/ Media/Pdfview/81d1ca01-01aa-ec11-80fa00155db45613
Cummings SR, Nevitt MC. Non-skeletal determinants of fractures: the potential importance of the mechanics of falls. Study of osteoporotic fractures research group. Osteoporos Int 1994;4(1):67-70.
กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. รู้ตัวเลข รู้ความเสี่ยง สุขภาพ [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 10 พ.ย. 2566]. แหล่ง ข้อมูล: https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/ 1064820201022081932.pdf
วิภาวี กิจกำแหง, นิพัธ กิติมานนท์, ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย. ปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์ต่อการหกล้มของผู้สูงอายุใน ชุมชน. วารสาริชาการสาธารณสุข 2549;15(5):787-99
วนิดา ราชมี, ทิพวรรณ จูมแพง, ลลิตา สุกแสงปัญญา. ปัจจัย ที่ส่งผลต่อการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 6 [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [สืบค้นเมื่อ 11 พ.ย. 2566]. แหล่ง ข้อมูล: https://hpc6.anamai.moph.go.th/th/cms-of15/ download/?did=213400&id=91524&reload=
Borges V, Silva N, Malta A, Xavier N, Bernardes L. Falls, muscle strength, and functional abilities in community-dwelling elderly women. Fisioterapia em Movimento 2017;30:357-66.
von Haehling S, Morley JE, Anker SD. An overview of sarcopenia: Facts and numbers on prevalence and clinical impact. J Cachexia Sarcopenia Muscle 2010;1(2):129- 33.
Macaluso A, De Vito G. Muscle strength, power and adaptations to resistance training in older people. Eur J Appl Physiol 2004;91(4):450-72.
Mitchell WK, Williams J, Atherton P, Larvin M, Lund J, Narici M. Sarcopenia, dynapenia, and the impact of advancing age on human skeletal muscle size and strength; a quantitative review. Front Physiol 2012;3:1-260.
วุฒิพงษ์ ปรมัตถากร, อารี ปรมัตถากร. วิทยาศาสตร์การ กีฬา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช; 2539.
Esiri M. Ageing and the brain. The Journal of Pathology 2007;211(2):181-7.
Johnson C, Hallemans A, Verbecque E, De Vestel C, Herssens N, Vereeck L. Aging and the relationship between balance performance, vestibular function and somatosensory thresholds. J Int Adv Otol 2020;16(3):328- 37.
เพ็ญพักตร์ หนูผุด, ดุสิต พรหมอ่อน, สมเกียรติยศ วรเดช, ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์. ความชุกของภาวะเสี่ยงล้มและปัจจัยที่ มีความสัมพันธ์ต่อภาวะเสี่ยงล้มในกลุ่มผู้สูงอายุ. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ 2562;21(1):125-37.
Moratalla-Cecilia N, Soriano-Maldonado A, Ruiz-Cabello P, Fernández MM, Gregorio-Arenas E, Aranda P, et al. Association of physical fitness with health-related quality of life in early postmenopause. Qual Life Res 2016;25(10):2675-81.
Silva NA, Pedraza DF, de Menezes TN. Physical performance and its association with anthropometric and body composition variables in the elderly. Cien Saude Colet 2015;20(12):3723-32.
ดาราวรรณ รองเมือง, จีราพร ทองดี, ฉันทนา นาคฉัตรีย์, จิตติยา สมบัติบูรณ์. อุบัติการณ์ของการหกล้ม และปัจจัยที่ มีความสัมพันธ์กับการล้มในผู้สูงอายุทีอาศัยในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี 2559;27:123-38.
เยาวลักษณ์ คุมขวัญ, อภิรดี คำเงิน, อุษณีย์ วรรณลัย, นิพร ขัดตา. แนวทางการป้องกันการพลัดตกหกล้มที่บ้านใน ผู้สูงอายุ: บริบทประเทศไทย. วารสารพยาบาลกระทรวง สาธารณสุข 2561;28(3):10-22.
สมลักษณ์ เพียรมานะกิจ, พัชรินทร์ พุทธรักษา, สุพิน สาริกา, วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล. ความสามารถในการทรงตัวของผู้สูงอายุในชุมชนอำเภออัมพวา. วารสารกายภาพบำบัด 2560;39(2):52-62.
Wingert JR, Corle CE, Saccone DF, Lee J, Rote AE. Effects of a community-based tai chi program on balance, functional outcomes, and sensorimotor function in older adults. Phys Occup Ther Geriatr 2020;38(2):129-50.
สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์. แนวทางเวชปฏิบัติป้ องกันและประเมินภาวะ หกล้มในผู้สูงอายุ [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 11 พ.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: http://agingthai.dms.go.th/agingthai/wp-content/uploads/2021/01/book_9.pdf
Phelan EA, Mahoney JE, Voit JC, Stevens JA. Assessment and management of fall risk in primary care settings. Med Clin North Am 2015;99(2):281-93.
Mitchell RJ, Watson WL, Milat A, Chung AZ, Lord S. Health and lifestyle risk factors for falls in a large population-based sample of older people in australia. J Safety Res 2013;45:7-13.
ณัฐณิชา ธัญญาดี, ธาตรี โบสิทธิพิเชฎฐ์, ธนกมณ ลีศรี. การ ใช้ยาหลายขนาน การใช้ยาที่เสี่ยงต่อภาวะหกล้ม และภาวะ หกล้มในผู้สูงอายุทีเข้ารับบริการระบบบริการปฐมภูมิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา: การศึกษาแบบภาคตัดขวาง. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 2565;16(1):236-60.
Zia A, Kamaruzzaman SB, Tan MP. The consumption of two or more fall risk-increasing drugs rather than polypharmacy is associated with falls. Geriatr Gerontol Int 2017;17(3):463-70.
Milos V, Bondesson Å, Magnusson M, Jakobsson U, Westerlund T, Midlöv P. Fall risk-increasing drugs and falls: A cross-sectional study among elderly patients in primary care. BMC Geriatrics 2014;14(1):40.
สุกัลยา อมตฉายา, เยาวราภรณ์ ยืนยงค์, วัณฑนา ศิริธราวัตร. การทรงตัว การล้ม และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายและไม่ออกกำลังกายเป็นประจำ. ศรีนครินทร์เวชสาร 2552;25(2):103-8.
Panel on Prevention of Falls in Older Persons, American Geriatrics Society and British Geriatrics Society. Summary of the updated american geriatrics society/british geriatrics society clinical practice guideline for prevention of falls in older persons. J Am Geriatr Soc 2011;59(1): 148-57.
Goldberg A, Chavis M, Watkins J, Wilson T. The fivetimes-sit-to-stand test: Validity, reliability and detectable change in older females. Aging Clin Exp Res 2012;24(4):339-44.
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.