ปัจจัยที่ทำนายการเกิดการติดเชื้อโควิด แบบแสดงอาการและปอดอักเสบในโรงพยาบาลทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
คำสำคัญ:
การติดเชื้อโควิด-19, ปอดอักเสบ, ปัจจัยเสี่ยงบทคัดย่อ
โรคโควิด-19 เกิดจากการติดเชื้อ SARS-COV-2 กำเนิดขึ้นครั้งแรกทีประเทศจีนมณฑลอู่ฮั่นในเดือนธันวาคม ่ ปี พ.ศ. 2562 การติดเชื้อทำให้เกิดอาการทางระบบทางเดินหายใจ ตั้งแต่ไม่รุนแรง เกิดปอดอักเสบ จนถึงระบบทางเดินหายใจล้มเหลว หรือเสียชีวิต สำหรับประเทศไทยพบการติดเชื้อครั้งแรกในปี พ.ศ.2563 และเกิดการระบาดไป ทั่วประเทศ ผู้ป่ วยโควิด-19 มีอาการแสดงได้หลายรูปแบบ ตั้งแต่ไม่มีอาการ หรือ อาการเพียงเล็กน้อย หรือเกิด ปอดอักเสบ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยที่สัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ทำนายว่า ผู้ป่ วยกลุ่มใดจะเกิดการ ติดเชื้อโควิด-19 แบบแสดงอาการหรือเกิดการติดเชื้อที่มีปอดอักเสบร่วมด้วย โดยรวบรวมข้อมูลย้อนหลังผู้ป่ วย ทั้งหมด 1,446 ราย ตั้งแต่เดือนมกราคม 2562 ถึงเดือนตุลาคม 2564 วิเคราะห์ปัจจัยโดยใช้สถิติ Chi-square test นำเฉพาะปัจจัยที่มีนัยสำคัญทางสถิติมาวิเคราะห์ต่อโดยใช้สถิติ multiple logistic regression ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยทำนายที่ทำให้เกิดโควิดแสดงอาการแบบไม่มีปอดอักเสบคือ ผู้ป่ วยช่วงอายุ 18-65 ปี การมีโรคประจำตัว ค่า เลือด absolute lymphocyte count น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1,600 cells/mm3 และค่าเลือด C-reactive protein มากกว่า หรือเท่ากับ 10 mg/l (p<0.05) ปัจจัยทำนายการเกิดโควิด-19 ปอดอักเสบคือผู้ป่ วยที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 66 ปี อาการแสดงนำด้วยไข้ หายใจเหนื่อย ค่าเลือด absolute lymphocyte count น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1600 cells/ mm3 และค่าเลือด C-reactive protein มากกว่า 10 mg/l (p<0.05) โดยสรุป ควรเฝ้ าระวังในผู้ป่ วยที่มี ปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวเพื่อจะได้ให้การรักษาได้ถูกต้องและรวดเร็ว
Downloads
เอกสารอ้างอิง
Mohan BS, Vinod N. COVID-19: an insight into SARSCoV-2 pandemic originated at Wuhan city in Hubei province of China. J Infect Dis Epidemiol 2020;6:146
Roberts DL, Rossman JS, Jaric I. Dating first cases of COVID-19. PLos Pathog 2021;17(6):e1009620.
Angham GH, Mohammed K, Nany H, Emad Y, Salam AM. A Review on COVID-19 origin, spread, symptoms, treatment and prevention. BRIAC 2020;10(6):7234- 42.
Elisabeth M. COVID-19: WHO declares pandemic because of “alarming levels” of spread, severity, and inaction. BMJ 2020;368:m1036.
ศศินา สิมพงษ์, ศิริกาญน์ อุปสิทธิ์ , ศิริพร นครลำ, สิรินารถ ต้นสวรรค์, สุจิตรา ส่งสุข, สุทธิดา โพธิ์ ไทร, และคณะ. ปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 2564;10(2):148-56.
Kotipan K. SARS-CoV-2 infection rates in two phases of the COVID-19 outbreak and the correlation of the cycle threshold of the two genes used in the diagnosis and pneumonia in Charoenkrung Pracharak Hospital. J Med Tech Assoc Thailand 2021;49(3):7922-33.
Min CC, Yu KP, Bong-Ok K, Donghwi P. Risk factors for disease progression in COVID-19 patients. BMC Infect Dis 2020;20:445.
Min HC, Hyunmin A, Han SR, Byung JK, Joonyong J, Moonki J, et al. Clinical characteristics and disease progression in early stage COVID-19 patients in South Korea. J Clin Med 2020;9:1959.
Chao Y, Miao Z, Yang L, Tinglin G, Chongyang O, Liye Yang, et al. Characteristics of asymptomatic COVID-19 infection and progression a multicenter, retrospective study. Virulence 2020;11(1):1006–14.
Elizabeth SS, Juraschek P. Diabetes epidemiology in the COVID-19 pandemic. Diabetes Care 2020;43:1690-4.
Giuseppe P, Martina V, Veronica R, Emanuela O. Is diabetes mellitus a risk factor for corona virus disease 19 (COVID 19). Acta Diabetol 2020; 57:1275–85.
Tomonori H, Tsuyoshi A, Heita K, Yoshitaka T, Tomoki Y,Shoji H, et al. Factors significantly associated with COVID-19 severity in symptomatic patients: a retrospective single-center study. Infect Chemother 2021; 27:7682.
Zarir FU, Awatansh RT, Viral JN. Prognostic factors for adverse outcomes in COVID-19 infection. J Assoc Physicians India 2020;68:56-9.
Giovanni P, Monia M, Cristel R, Tomasi, TomrisO. Biomarkers associated with COVID-19 disease progression. Crit Rev Clin Lab Sci 2020;57(6):389-99.
Zhenyu K, Shanshan L, Yang G, Haifeng Z, Zili Z, Chunxia T, et al .Obesity is a potential risk factor contributing to clinical manifestations of COVID-19. Int J Obese 2020;44:2479 -85.
Moises MN, Rodolfo RR, Ivonne A, Roy G, Daniel O, Pacheo R, et al. Risk factors associated with SARSCOV-2 pneumonia in the pediatric population.Bol Med Hosp Infant Mex 2021;78(4):251-8.
Pongpirul WA, Wiboonchtikul S,Charoenpong L,Panitantum N, Vachiraphan A, Uttayamakul s, et al. Clinical course and potential predicting factors of pneumonia of adult patients with coronavirus disease 2019 (COVID-19) a retrospective observational analysis of 193 confirmed cases in Thailand. PLos Negl Trop Dis 2020; 14(10):e008806.
H.selcuk O, Pinar AY,Ummugulsum G, Asiye UD, Zehra D,Mehmet Y, etal. The factor predicting pneumonia in COVID-19 patients preliminary result from a university hospital in Turkey. Turk J Med Sci 2020; 50:1810-6
Efren MZ, Ramon AS, Xochitl T, Miguel Monica RS, Oliver MC. Independent factors of COVID-19 pneumonia in vaccinated Mexican adults.Int J infect Dis 2020;118:244-6.
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.