ถอดบทเรียนการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขในการรับมือโรค COVID-19 จังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • มิ่งขวัญ ภูหงษ์ทอง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
  • ศศิธร เอื้ออนันต์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
  • ไพรัชฌ์ สงคราม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
  • วัฒนา นิลบรรพต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
  • ประภาวดี เวชพันธ์ โรงพยาบาลขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
  • ภาคี ทรัพย์พิพัฒน์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น

คำสำคัญ:

ถอดบทเรียน, การบริหารจัดการ, สถานการณ์ฉุกเฉิน, โรค COVID-19

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้าน สาธารณสุขในการรับมือโรค COVID-19 จังหวัดขอนแก่น คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ประกอบด้วย (1) กลุ่มผู้กำหนดนโยบาย (2) ผู้ปฏิบัติด้านป้ องกันควบคุมโรคและการดูแลรักษา (3) ผู้เกี่ยวข้องในสถานการณ์การจัดการ โรค COVID-19 และ (4) กลุ่มผู้ปฏิบัติระดับหมู่บ้าน ได้แก่ กลุ่มผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข เก็บรวบรวม ข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ แบบสนทนากลุ่ม ผลการถอดบทเรียน พบว่า จังหวัดขอนแก่นเตรียมความพร้อมในการรับ สถานการณ์โรค COVID-19 โดย Incident Command System: ICS เพื่อบัญชาการ ใช้หลัก 2P2R ได้แก่ Prevention (การดำเนินงานป้ องกันและลดผลกระทบ) Preparedness (การเตรียมความพร้อม) Response (การตอบโต้) Recovery (การฟื้ นฟู) อาศัยกลไกคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดขอนแก่น ตาม พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 แต่ง ตั้งคณะกรรมการตามระบบบัญชาการเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขสำหรับทุกโรคและภัยสุขภาพและศูนย์ ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operation Center: EOC) จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ตามหลัก 3S (Staffs, Stuffs, and Systems) แนวทางปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินตามมาตรการสำคัญ 6 ด้าน (6 C ) ดังนี้ (1) การคัดกรองและเฝ้ าระวังผู้ป่ วยที่ สถานพยาบาล และชุมชน (Capture) (2) การดูแลรักษาผู้ป่ วยและป้ องกัน การติดเชื้อ (Case management and infection control) (3) การติดตามผู้สัมผัสโรค (Contact tracing) (4) การ สื่อสารความเสี่ยง (Communication) (5) การใช้มาตรการทางสังคมและกฎหมาย (Community intervention and law enforcement) และ (6) การประสานงานและจัดการข้อมูล (Coordinating and joint information center) ผล การเตรียมความพร้อมอย่างเหมาะสมและควบคุมผลกระทบโควิด‐19 ตั้งแต่ระดับบุคคล ระดับชุมชน ระดับจังหวัด เป็นกุญแจความสำเร็จต่อระบบสุขภาพ การบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขในการรับมือโรค COVID-19 จังหวัดขอนแก่น

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

World Health Organization. WHO policy brief: COVID-19 testing [Internet]. 2022 [cited 2022 May 21]. Available from: https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/362671/WHO-2019-nCoV-PolicyBrief-Testing-2022.1-eng.pdf?sequence=1

World Health Organization. WHO coronavirus (COVID-19) dashboard [Internet]. 2022 [cited 2022 June 19]. Available from: https://covid19.who.int/ table

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์ผู้ป่วย COVID-19 รายวัน [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [สืบค้นเมื่อ 13 ธ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://ddc.moph.go.th/ covid19-daily-dashboard/

World Health Organization. Infection prevention and control during health care for probable or confirmed cases of Middle East respiratory syndrome coronavirus (MERS-CoV) infection [Internet]. 2019 [cited 2022 May 21]. Available from: https://www.who.int/publications/i/item/10665-174652

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการดำเนิน งานสำหรับบุคลากรทางการแพทย์: องค์ความรู้ COVID-19 [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้นเมื่อ 23 มิ.ย. 2564]. แหล่ง ข้อมูล: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/g_km. php.

สำนักนายกรัฐมนตรี. การจัดตั้งหน่วยงานพิเศษเพื่อปฏิบัติ หน้าที่ตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 137, ตอน พิเศษ 69 ง (ลงวันที่ 25 มีนาคม 2563).

ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019. แนวปฏิบัติตามข้อกำหนดออกตามความใน มาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 137, ตอนพิเศษ 102 ง (ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2563).

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์ผู้ป่วย COVID-19 รายวัน [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 15 พ.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://ddc.moph.go.th/covid19- daily-dashboard/?dashboard=analysis-province

สำนักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ. องค์การอนามัยโลก ชื่นชมไทย 6 จุดเด่นบริหารจัดการ โควิด 19 พร้อมแนะ แนวทางรับมือระบาดรอบใหม่ [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [สืบค้น เมื่อ 15 พ.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://www.hfocus. org/content/2020/10/20305

กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการถอดบทเรียนสำหรับนักวิจัย ระดับจังหวัด ภายใต้โครงการวิจัยถอดบทเรียนการบริหาร จัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขในการรับมือโรค COVID-19 ของจังหวัดต่างๆ ในประเทศ. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2564.

World Health Organization. Monitoring the building blocks of health systems: a handbook of indicators and their measurement strategies. Geneva: World Health Organization; 2010.

World Health Organization. A strategic framework for emergency preparedness [Internet]. 2017 [cited 2021 May 24]. Available from: https://www.who.int/publications/i/item/a-strategic-framework-for-emergencypreparedness

World Health Organization. A systematic review of public health emergency operations centres (EOC) [Internet]. 2013 [cited 2022 May 2021]. Available from: https:// iris.who.int/bitstream/handle/10665/99043/WHO_ HSE_GCR_2014.1_eng.pdf?sequence=1

World Health Organization. WHO policy brief: Building trust through risk communication and community engagement, 14 September 2022 [Internet]. 2022 [cited 2022 December 24]. Available from: https://www.who. int/publications/i/item/WHO-2019-nCoV-Policy_ Brief-RCCE-2022.1

ภาคี ทรัพย์พิพัฒน์, มิ่งขวัญ ภูหงษ์ทอง. การพัฒนาแนวทาง การกำกับติดตามหน่วยบริการฉีดวัคซีนโควิด 19 จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2566;32(3):468- 78.

Deitchman S. Enhancing crisis leadership in public health emergencies. Disaster Med Public Health Prep 2013; 7(5):534-40.

Subba SH, Pradhan SK, Sahoo BK. Empowering primary healthcare institutions against COVID-19 pandemic: A health system-based approach. J Family Med Prim Care 2021;10(2):589-94.

Raven J, Wurie H, Witter S. Health workers’ experiences of coping with the Ebola epidemic in Sierra Leone’s health system: a qualitative study. BMC Health Serv Res 2018;18(1):251.

Leo CG, Sabina S, Tumolo MR, Bodini A, Ponzini G, Sabato E, et al. Burnout among healthcare workers in the COVID 19 era: a review of the existing literature. Front Public Health 2021;9:750529.

Barbisch DF, Koenig KL. Understanding surge capacity: essential elements. Academic Emergency Medicine 2006; 13(11):1098–102.

Wu AW, Connors C, Everly GS Jr. COVID-19: Peer support and crisis communication strategies to promote institutional resilience. Ann Intern Med 2020;172(12): 822-3.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-06-30

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้