การบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขและข้อเสนอเชิงนโยบาย กรณีสถานการณ์ COVID-19 โรงพยาบาลอำนาจเจริญ

ผู้แต่ง

  • อุไรวรรณ จำนรรจ์สิริ โรงพยาบาลอำนาจเจริญ
  • นิตยา บัวสาย กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลอำนาจเจริญ
  • โสภิต โชติรสนิรมิต กลุ่มภารกิจด้านบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลอำนาจเจริญ
  • สุภัทรา ศุภโกศล กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลอำนาจเจริญ

คำสำคัญ:

โรค COVID-19, การจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข, ข้อเสนอเชิงนโยบาย

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์บทเรียนการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขกรณี สถานการณ์ COVID-19 โรงพยาบาลอำนาจเจริญ และเพื่อสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบาย รูปแบบวิจัยใช้แบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากเวชระเบียนผู้ป่ วย COVID-19 ทุกรายทีรักษ ่ าแบบผู้ป่ วยใน ระหว่างวันที 1 พฤศจิก ่ ายน 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566 ข้อมูลเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มผู้บริหารระดับ นโยบาย คณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับปฏิบัติการ อำนวยการ และระดับปฏิบัติการ ทางการแพทย์ รวมทั้งสิ้น 40 คน และกลุ่มผู้ป่ วยที่เคยเข้ารับการรักษา จำนวน 10 คน ร่วมกับการทบทวนเอกสาร วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อมูล เชิงคุณภาพวิเคราะห์แก่นสาระและเปรียบเทียบการบริหารจัดการกับข้อค้นพบที่ได้จากการทบทวนวรรณกรรมและ การสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า ระบบบริหารจัดการมีความสอดคล้องกับรูปแบบการบริหารจัดการโรงพยาบาล ระดับตติยภูมิครอบคลุมทั้งปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์ ส่วนปัญหาอุปสรรคและกลยุทธ์ที่พบในการ บริหารจัดการโรงพยาบาลด้านต่างๆ คือ ระบบจัดการคัดกรองผู้ป่ วย ระบบบริหารความเสี่ยง การบริหารจัดการ ทรัพยากรบุคคล การดูแลต่อเนื่อง/ระบบส่งต่อผู้ป่ วย ความเพียงพอของอุปกรณ์ป้ องกันส่วนบุคคล โดยเฉพาะการ ดูแลผู้ป่ วยในช่วงที่มีผู้ป่ วยเพิ่มมากขึ้น ข้อเสนอแนะสำหรับภาครัฐในการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจเชิงบริหาร คือ การจัดเตรียมแผนการพัฒนาระบบโดยใช้หลักการจัดการในภาวะฉุกเฉิน การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข มีระบบบัญชาการเหตุการณ์ การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทุกภาคส่วน การจัดเตรียมอุปกรณ์ทีสำคัญ และการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินทีเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อให้การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ทางการแพทย์และสาธารณสุขขนาดใหญ่ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. คู่มือการ บริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (business continuity management: BCM) [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 16 มี.ค. 2566]. แหล่งข้อมูล: file:///C:/Users/HP/ Downloads/ คู่มือ_BCM_2020_v7(2)%20(5).pdf

ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ข้อมูลการประชุมศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์ และสาธารณสุข กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปี 2563-2565 [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 16 มี.ค. 2566]. แหล่งข้อมูล: https://pher.moph.go.th/ pher/download_mtd.html

ศูนย์ข้อมูลทีมตระหนักรู้สถานการณ์ สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดอำนาจเจริญ. สรุปรายงานผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดอำนาจเจริญ. อำนาจเจริญ: คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดอำนาจเจริญ; [ม.ป.ป.].

ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข โรงพยาบาลอำนาจเจริญ. สรุปรายงานผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลอำนาจเจริญ. อำนาจเจริญ: โรงพยาบาลอำนาจเจริญ; [ม.ป.ป.].

Donabedian A. An introduction to quality assurance in health care. Oxford: Oxford University Press; 2003.

Hick JL, Einav S, Hanfling D, Kissoon N, Dichter JR, Devereaux AV, et al. Surge capacity principles: care of the critically ill and injured during pandemics and disasters: CHEST Consensus Statement. CHEST [Internet]. 2014 [cited 2022 Dec 23];146(4): e1S-e16S. Available from: https://doi. org/10.1378/chest.14-0733.

Colaizzi PF. Psychological research as the phenomenologist views. In: Valle R, King M, editors. Existential– phenomenological alternatives for psychology. New York: Oxford University Press; 1978. p. 48-71.

Centers for Disease Control and Prevention. Comprehensive hospital preparedness: checklist for coronavirus disease 2019 (COVID-19) [Internet]. 2019 [cited 2022 Dec 23]. Available from: https://www.medbox.org/ pdf/5ebc47ee7ee73671a0136792

World Health Organization. A practical tool for the preparation of a hospital crisis preparedness plan, with special focus on pandemic influenza [Internet]. 2006 [cited 2022 Dec 23]. Available from: https://apps.who. int/iris/bitstream/handle/10665/107779/E89231. pdf?sequence= 1&isAllowed=y

Seyedin H, Moslehi S, Sakhaei F, Dowlati M. Developing a hospital preparedness checklist to assess the ability to respond to the COVID-19 pandemic. The Eastern Mediterranean Health Journal [Internet]. 2021 [cited 2022 Dec 23];27(2):131-41. Available from: https:// pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/33665797/

World Health Organization. Hospital emergency response checklist: an all-hazards tool for hospital administrators and emergency managers [Internet]. 2011 [cited 2022 Dec 23]. Available from: https://cdn.who.int/media/ docs/ default-source/documents/publications/hospital-emergency-response-checklistf16d047e-ec76- 4798-8310-029ff7f6f6df.pdf?sfvrsn=2e597f27_1 &download=true

World Health Organization. Hospital readiness checklist for COVID-19 [Internet]. 2020 [cited 2022 Dec 23]. Available from: https://apps.who.int/iris/handle/ 10665/332778

กรมการแพทย์. แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้ องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 27 [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [สืบค้นเมื่อ 22 พ.ค. 2566]. แหล่ง ข้อมูล: https://COVID19.dms.go.th/Content/Select_ Landding_page?contentId=181

ปรีชา เปรมปรี, บรรณาธิการ. นโยบายการพัฒนา EOC ของ กรมควบคุมโรค. การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบ บัญชาการเหตุการณ์ (ICS) และศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม; วันที่ 23 - 24 พฤษภาคม 2562; โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต, กรุงเทพมหานคร. นนทบุรี: กรมควบคุมโรค; 2562. หน้า 1-41.

จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์, นพพล วิทย์วรพงศ์, ธีระ วรธนารัตน์, สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล, วรากร วิมุตติไชย, ฬุฬญี า โอชารส, และคณะ. การตอบสนองและเตรียมการของระบบ บริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ 2564 [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 22 พ.ค. 2566]. แหล่งข้อมูล: https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5391?locale-attribute=th

Nelson C, Lurie N, Wasserman J, Zakowski S. Conceptualizing and defining public health emergency preparedness. Am J Public Health [Internet]. 2007 [cited 2022 Dec 23];97(Suppl 1):S9-11. Available from: https:// ajph.aphapublications.org/doi/full/10.2105/ AJPH.2007.114496

Haldane V, De Foo C, Abdalla S M, Jung A S, Tan M, W Shishi, et al. Health system resilience in managing the COVID-19 pandemic: lesson from 28 countries. Nat Med [Internet]. 2021 [cited 2022 Dec 23]; 27(6):964-80. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih. gov/34002090/

Her M. Repurposing and reshaping of hospitals during the COVID-19 outbreak in South Korea. One Health 10 [Internet]. 2020 [cited 2023 Mar 23];10:100137. Available from: https://www.sciencedirect.com/science/ article/pii/S2352771420301002

Abir M, Nelson C, Chan EW, Al-Ibrahim H, Cutter C, Patel K V, et al. Critical care surge response strategies for the 2020 COVID-19 outbreak in the United States. [Internet]. 2020 [cited 2023 Mar 23]. Available from: https://www.rand.org/pubs/research_reports/RRA164- 1.html

Clavier T, Bruckert V, Abraham P, Capdevila M, James A.The use of post-anaesthesia care units as a supply of ICU beds while maintaining scheduled surgery: a cross-sectional web-based feasibility survey in France. Journal of Clinical Anesthesia [Internet]. 2021 [cited 2023 May 14];71:110244. Available from: https:// www.sciencedirect.com/science/article/pii/ S0952818021000829

World Health Organization, Regional Office for the Western, P. Indicators to monitor health-care capacity and utilization for decision-making on COVID-19 [Internet]. 2020 [cited 2022 Dec 14]. Available from: https://www.who.int/publications/i/item/WPRDSE-2020-026

Zhu N, Zhang D, Wang W, Li X, Yang B, Song J, et al. China Novel Coronavirus Investigating and Research Team. A novel coronavirus from patients with pneumonia in China, 2019. N Engl J Med [Internet]. 2020 [cited 2022 Dec 14].;382(8):727-33. Available from: https://www.nejm.org/doi/10.1056/NEJMoa2001017

Naganathan S, Meehan-Coussee K, Pasichow S, Rybasack-Smith H, Binder W, Beaudoin F, et al. From concerts to COVID: transforming the ri convention center into an alternate hospital site in under a month. R I Med J [Internet]. 2020 [cited 2022 Dec 14];103(6):8- 13. Available from: http://www.rimed.org/rimedicaljournal/2020/08/2020-08.pdf

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ