Causes of incomplete immunization for Measles Vaccine-สาเหตุที่ผู้ปกครองไม่พาเด็กมารับวัคซีนป้องกันโรคหัด

ผู้แต่ง

  • Napha Chiraguna

บทคัดย่อ

       The study was designed to evaluate parent’s attitude for not bringing their child for measles vaccination. It was found that the most common reason were (1) misunderstand of parents that their child could neither continue vaccination at any health facility other than the center at their home-town (18.93%), nor receive the service without immunization record book (9.47%) (2) parent’s believe that their child already had measles attack, (26.92%), which might not be the cases, (3) the child was sick during the vaccination-scheduled period, (25.74%), (4) parent’s desire to have their child natural measles infection (5.03%), (5) parent were too busy to bring their child to vaccination, (6) parent were unable to afford the expense of measles vaccination (2.96%), and (7) parent’s complete ignorance of measles vaccination. Education and encouragement on the importance of measles vaccination as well as active searching for unimmunized children should be emphasized to reduce the rate of measles attack in thai children.

            การศึกษาถึงสาเหตุที่ผู้ปกครองไม่พาเด็กมารับวัคซีนป้องกันโรคหัดพบว่า สาเหตุส่วนใหญ่นั้นเกิดจากการเข้าใจผิด ได้แก่ (1) เข้าใจว่าไม่สามารถเปลี่ยนสถานที่ที่รับภูมิคุ้มกันเนื่องจากการย้ายที่อยู่ (ร้อยละ 18.93) หรือคิดว่าต้องมีสมุดสุขภาพจึงจะสามารถรับวัคซีนได้ (ร้อยละ 9.47) , (2) เข้าใจว่าเด็กออกหัดแล้ว (ร้อยละ 26.92) , (3) คิดว่าเด็กไม่สบาย ไม่ควรรับการฉีดวัคซีน (ร้อยละ 25.74) , (4) อยากให้เด็กออกหัดตามธรรมชาติ (ร้อยละ 5.03) , (5) ผู้ปกครองลางานลำบาก (ร้อยละ 5.03) , (6) คิดว่าต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก (ร้อยละ 2.96) และ (7) ไม่รู้ว่าต้องฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด (ร้อยละ 1.48) สาเหตุเหล่านี้สามารถแก้ไขได้โดยให้ความรู้ความเข้าใจ และเน้นให้เห็นความสำคัญของการได้รับภูมิคุ้มกัน และพยายามค้นหาเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนหัด ซึ่งจะทำให้สามารถลดอัตราป่วยของโรคหัดลงได้ตามเป้าหมาย

 

Downloads

Download data is not yet available.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2019-03-19

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ