การพัฒนาธุรกิจสถานประกอบการสปา เพื่อสุขภาพระดับสากลในประเทศไทยสู่ความยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • ภักดี กลั่นภักดี หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • อัศวิน แสงพิกุล หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • ศิริเดช คำสุพรหม หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

ธุรกิจสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพระดับสากล, การตั้งใจกลับมาใช้บริการซ้ำ, ความยั่งยืน

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งเน้นที่สถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพระดับสากลในประเทศไทยที่ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน ของกระทรวงสาธารณสุข ประกอบกับการนำเสนอด้านอุปสงค์ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ จะทำให้ทราบถึงการ พัฒนาคุณภาพการบริการ กลยุทธ์การตลาดบริการ การสร้างความพึงพอใจให้กับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ นำไปสู่ การตั้งใจกลับมาใช้บริการซ้ำอย่างยั่งยืน นอกจากนั้นยังจะได้ทราบว่ารูปแบบ หรือผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในปัจจุบันมีความ สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ ทั้งยังทำให้เห็นถึงปัญหาและอุปสรรคในแง่มุมต่างๆ ของสถานประกอบ การสปาเพื่อสุขภาพระดับสากล ซึ่งสามารถนำมาพัฒนาคุณภาพของมาตรฐานการบริการได้อย่างรอบด้าน รวมถึง สามารถหาจุดร่วมในการพัฒนาศักยภาพของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และทำให้ธุรกิจสถานประกอบการสปาเพื่อ สุขภาพระดับสากลในประเทศไทยได้รับการพัฒนาสู่ความยั่งยืนต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561- 2580. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ; 2561.

คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 115 ก (ลง วันที่ 30 ธันวาคม 2559).

Gimenez C, Sierra V, Rodon J. Sustainable operations: Their impact on the triple bottom line. International Journal of Production Economics 2012;140:149-59.

Elias-Almeida A, Miranda FJ, Almeida P. Customer delight: perception of hotel spa Consumers. European Journal of Tourism, Hospitality and Recreation 2016; 7:13-20.

Grekova K, Calantone RJ, Bremmers HJ, Trienekens JH, Omta SF. How environmental collaboration with suppliers and customers influences firm performance: evidence from Dutch food and beverage processors. Journal of Cleaner Production 2016;122:1861-71.

วธู โรจนวงศ์. การพัฒนาโมเดลสนับสนุนการดำเนินกิจการ เพื่อสังคมในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2559. 29 หน้า.

เจริญชัย เอกมาไพศาล, พิชชานันท์ ช่องรักษ์. การสร้าง ประสบการณ์ผ่านการบริการสปาด้วยบรรยากาศที่ดึงดูดใจ. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 2562;6:245-66.

ภักดี กลั่นภักดี. ปัจจัยด้านมาตรฐานของสถานประกอบกิจ การสปาเพื่อสุขภาพระดับสากลที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ ในการใช้บริการของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ. วารสาร มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2561;37:97-110.

สุเนตรตรา จันทบุรี. โอกาสและความสามารถในการแข่งขัน ของธุรกิจสปาและนวดแผนไทย. วารสารเกษมบัณฑิต 2559;17:49-63.

กระทรวงสาธารณสุข. พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพื่อ สุขภาพ พ.ศ.2559. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 133 ตอนที่ 30 ก (ลงวันที่ 31 มีนาคม 2559).

ภักดี กลั่นภักดี. ปัจจัยด้านมาตรฐานของสถานประกอบกิจ การสปาเพื่อสุขภาพระดับสากลที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ ในการใช้บริการของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ. [วิทยานิพนธ์ ปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์; 2560.

กนกอร แซ่ลิ้ม. แนวทางการสร้างมาตรฐานสปาอย่างมีความ รับผิดชอบ : กรณีศึกษา โรงแรมอนันตรา สิเกา รีสอร์ทแอนด์ สปา [วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2557.

สุวภรณ์ แนวจำปา. คู่มือเกณฑ์มาตรฐานสถานประกอบกิจ การสปาเพื่อสุขภาพระดับสากล. กรุงเทพมหานคร: เจเนซิส มีเดียคอม; 2559.

กองสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ. รายชื่อสถานประกอบกา รสปาเพื่อสุขภาพที่ผ่านการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพระดับสากล (Thai World Class SPA Awards 2019) ปี พ.ศ. 2562 [อินเทอร์เนต]. [สืบค้นเมื่อ 28 ม.ค. 2563]. แหล่งข้อมูล: http://www.thaispa.go.th

Parasuraman A, Zeithaml VA, Berry LL. A conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of marketing 1985;49:41-50.

Lovelock CH, Wright L. Principles of Service Marketing and Management. New Jersey: Pearson Education; 2002.

ธิญาดา วรารัตร์. สู่ทางรวยด้วยธุรกิจสปาคู่มือเปิดร้านสปา แบบมืออาชีพตัวจริง. กรุงเทพมหานคร: ดรีมแอนด์แพชชั่น; 2552.

Parasuraman A, Zeithaml, VA, Berry LL. Servqual: a multiple-item scale for measuring consumer perceptions of service quality. Journal of Retailing 1988;64:12-40.

เพ็ญศรี วรรณสุข. คุณภาพบริการและกลยุทธ์การตลาด บริการสุขภาพ ที่ส่งผลต่อการกลับมาใช้บริการของลูกค้า ธุรกิจสปาในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 2556;4:22-33.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30

วิธีการอ้างอิง