ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของวิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข

ผู้แต่ง

  • ดวงทิพย์ ก่อกิจงาม วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข
  • สุดคนึง ฤทธิ์ฤาชัย วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข
  • พงษ์สุวรรณ ศรีสุวรรณ วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข
  • ลำพาส พิศปั้น วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข
  • ศิริพร ถนอมทรัพย์ วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข
  • นภาพร มานะเจริญสุข วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข

คำสำคัญ:

ประสิทธิภาพ, การเรียนการสอนออนไลน์, วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการเรียนการสอนออนไลน์ และสังเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาและอุปสรรค ที่ได้รับจากการเรียนการสอนออนไลน์ของวิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก ผ่านแบบสัมภาษณ์กลุ่ม โดยมีผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วย ผู้บริหาร ผู้สอน ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้รับผิดชอบการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เจ้าหน้าที่เทคโนโลยี ผู้แทนบริษัทผลิตสื่อและให้บริการที่รองรับระบบปฏิบัติการ และผู้เรียน จำนวน 9 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า บทเรียน ของการเรียนการสอนออนไลน์ที่สังเคราะห์ได้สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาองค์ประกอบของการเรียนการสอนออนไลน์แบ่งได้เป็น 4 ด้าน ได้แก่ เนื้อหาของบทเรียน ระบบบริหารการเรียน การติดต่อสื่อสาร และการประเมินผลการเรียน วิทยาลัยนักบริหารสาธารณสุขและหน่วยงานรับผิดชอบหลักสูตรนักบริหารอื่น ๆ สามารถนำบทเรียนนี้ไปใช้พัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์เพื่อยกระดับการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรนักบริหาร

เอกสารอ้างอิง

Bunlue, S. (2017). The Suitable Model of Online Learning and Teaching for Ubon Ratchathani Rajabhat University. Journal of Roi Et Rajabhat University. 11(2) July – December (2017). 250-260.

Hemkrasee, A. (2018). Student’s satisfaction with studying biology lab online lesson. Department of Biology Faculty of Science Mahidol University. national academic conference Faculty of Management Sciences Silpakorn University, 6th Annual 2018.

Maneewong, N. (2021). The study of Learning behavior and the successful factors of online Learning (Line ApplicationProgram) in COVID 19. Journal of Educational Studies. 15(1) January – June 2021. 161-173. (in Thai).

Pongpat, S. (2019). A Strategy of e-Learning Development in 21st Century. Master of Management Degree Program Thesis. College of Management, Mahidol University. (in Thai).

Promsatien, Y. and Nethanomsak, T. (2021). Information Technology Really Improve Teaching and Learning. Rajabhat Maha Sarakham University Journal. 15 (3) : September - December 2021. (in Thai).

Sean Bui. (2020). Top Educational Technology Trends In 2020-2021. Retrieved 2 February 2023. from https://elearningindustry.com/ top-educational-technology-trends- 2020-2021.

Supthanadon, T. (2011). Factors Affecting the Teaching and Learning Management of Online Lessons For Student’s Nakhon Ratchasima Rajabhat University. Veridian E-Journal SU. 4(1). May – August. 2011. (in Thai).

Thongparn, C. (2014). Development of E-learining on basic photography for photo club Rajini school Bangkok. (Master of Education Degree in Educational Technology), Srinakarinwirot University). (in Thai).

Thunhikorn, B. (2001). e-Learning : Learning in a learning society. Kasetsart Educational Review. 16(1) January – April 2001. 7-15. (in Thai).

Wannapiroon, P. (2011). Blended Learning: Principles into Practice. Journal of Vocational and Technology Educational. 1(2) July – Decembe 2011. (in Thai).

Wayo, W. Charoennukul, A. Kankaynat, C. Konyai, J. Online Learning under the COVID-19 Virus Epidemic Situation: Concepts and Application of Teaching and Learning Management. Regional Health Promotion Center 9 Journal. 14(34) May – August 2020. 285-298. (in Thai).

Wongpratoom, W. and Sranamkam, T. The Effects of Blended Learning Using Collaborative Learning with Student Team Achievement Divisions (STAD) Technique to Enhance Analytical Thinking for Grade VII Students. e-Journal of Education Studies, Burapha University. 1(3) September 2019. (in Thai).

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-03-21

วิธีการอ้างอิง

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้