ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานพัสดุ ของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดพิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • วันวิสาข์ สิทธิกูล1* โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก

คำสำคัญ:

ปัจจัยเชิงสาเหตุ, ประสิทธิผลการดำเนินงานพัสดุ, โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ

บทคัดย่อ

ความเป็นมา จากการศึกษาเบื้องต้น (Pilot study) ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย พบว่าเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร้อยละ 61.8 ยังไม่ตัดสินใจเรื่องการถ่ายโอน โดยเกือบทั้งหมดต้องการข้อมูลประกอบการตัดสินใจให้มากขึ้น จึงควรมีการเตรียมพร้อมเรื่องการเรียนรู้สำหรับบุคลากรเรื่องการถ่ายโอนให้กับเจ้าหน้าที่ก่อน

วัตถุประสงค์การวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษาระดับประสิทธิผลการดำเนินงานพัสดุของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดพิษณุโลก 2) ตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานพัสดุที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ศึกษาน้ำหนักของอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อมและอิทธิพลรวมของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานพัสดุของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดพิษณุโลก

วิธีการดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย จำนวน 285 คน ใช้สถิติ Path analysis ในการตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบกับข้อมูลเชิงประจักษ์และน้ำหนักของอิทธิพล

ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิผลการดำเนินงานพัสดุของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในจังหวัดพิษณุโลก อยู่ในระดับน้อย 2) ผลการตรวจสอบความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ จากเกณฑ์ดัชนีที่ใช้ทดสอบความสอดคล้องกลมกลืนของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น มีระดับความสอดคล้องกลมกลืนผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดทุกดัชนี สรุปได้ว่า รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานพัสดุที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 3) ภาวะผู้นำของผู้บริหาร ขวัญกำลังใจของบุคลากร การมีส่วนร่วมของบุคลากร บรรยากาศองค์กร และเทคโนโลยีสารสนเทศ มีอิทธิพลทางตรง ทางอ้อมและอิทธิพลรวม ต่อประสิทธิผลการดำเนินงานพัสดุ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 การมีส่วนร่วมของบุคลากร บรรยากาศองค์กร และเทคโนโลยีสารสนเทศ มีอิทธิพลทางอ้อม โดยส่งผ่านขวัญกำลังใจของบุคลากร

สรุป หลักสูตรการเรียนรู้สำหรับบุคลากรสาธารณสุขในการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด สามารถนำไปปรับใช้ในกลุ่มประชากรขนาดใหญ่มากขึ้นได้

เอกสารอ้างอิง

กัญญนันทน์ ภัทรสรณ์สิริ. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการท างานของบุคลากร: กรณีศึกษาสาหรับสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน. วารสารวิชาการปทุมวัน, 1(1), 1-5.

กัญสพัฒน์ นับถือตรง และ นันตพร ศรีวิไล. (2560). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานพัสดุ วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม. ค้นเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2561, จาก http://repository.rmutr.ac.th/bitstream/handle/123456789/659/ rmuttrconth_13. pdf?sequence=1&isAllowed=y (in Thai)

จิรชาติ เชื้อภักดี. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อขวัญในการท างานของบุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

จิรชาติ เชื้อภักดี. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อขวัญในการท างานของบุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

ฉัตรา โพธิ์พุ่ม. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานของโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน).วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท), 20(2),112-123.

ธนกฤต รอดเขียว. (2553). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของกองสาธารณสุขและ สิ่งแวดล้อมของเทศบาลตำบลในจังหวัดอุทัยธานี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการการจัดการภาครัฐแนวใหม่, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2551). การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพฯ : วีอินเตอร์ พรินท์.

บุศรา ภาคสุวรรณ. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์การในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณทิต, สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย.

ประนมวัน เกษสัญชัย. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของ พยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลชุมชนเขต 12 กระทรวง สาธารณสุข. วารสารสมาคมพยาบาล ฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 30(3), 24-32.

ประภัสสร เจริญนาม. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลชุมชนในเขตบริการสุขภาพที่ 3-6. ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปรัชญา ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

เปรมชัย สโรบล. (2550). ปัจจัยการบริหารที่มีอิทธิผลต่อคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พรทิพย์ ชั้นบุญ. (2559). การจัดการงานพัสดุที่มีประสิทธิผลของเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์. ปีที่1 ฉบับที่ 2 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2559.

ภัทราวดี มากมี. (2559). การพัฒนาโมเดลการวัดประสิทธิผลองค์การภาครัฐในเขตอาเซียน: การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับ. วารสารสมาคมนักวิจัย, 21(1),34-48.

รณกร สุวรรณกลาง. (2557). การพัฒนาโมเดลทีมมีประสิทธิผลจากองค์การที่ได้รับรางวัลคุณภาพ แห่งชาติ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหาร, คณะ ทรัพยากรมนุษย์, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

วรางคณา กาญจนพาที. (2556). ภาวะผู้นำและภาวะผู้ตามที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์กร: กรณีศึกษา ธนาคารเพื่อส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการทั่วไป, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบุรี.

วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สักรินทร์ ไกรษร. (2557). รูปแบบความสมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุขององค์ประกอบการบริหาร เชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). (2558). มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี. กรุงเทพฯ: สถาบันรับรอง คุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน).

สุนทร สุริยพงศกร. (2551). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลลัพธ์ของการบริหารโรงพยาบาลชุมชน. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารศาสตร์, สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

สุวิมล ติรกานันท์. (2551). การสร้างเครื่องมือวัดตัวแปรในการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่ การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อธิปพัฒน์ เดชขุนทด. (2558). อิทธิพลของการจัดการในองค์การมีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาลบางปะอิน. วารสารวิชาการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี, 10(2), 89-100.

อัญชนา พานิช. (2550). องค์ประกอบประสิทธิผลองค์การของมหาวิทยาลัยราชภัฏ. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณทิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย ศิลปากร.

Cambell, R. Corball, J. L., & Ramsawyer, J. A. (1967). Introduction to educational administration. Boston: Ally and Bacon.

Daft, R. L. (1997). Leadership: Theory and practice. Forth Worth, TX: Dryden Press. David, G. Moore, D. G., & Burns, R. K. (1956). How good is good morale?. Factory Management and Maintenance, 3(9), 130-131.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). New York: Pearson.

Hooper, D., Coughlan, J., & Mullen, M. (2008). Structural equation modelling: Guidelines for Determining Model Fit. Electronic Journal of Business Research Methods, 6(1), 53-60.

Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (2001). Educational administration: Theory research and practice. New York: McGraw-Hill.

Hsu, K. Y., & Ryder, D. (2002). Model of structural equation, causal relationship between leadership, morale Personnel effectiveness. Structural Equation Modeling, 9(2), 233-255.

Phongpisanu B. (2019). Techniques for Writing Chapter I of Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 3(4): 000222. DOI: 10.23880/mjccs-16000222

Phongpisanu B. (2019). Process of Research and Development in Public Health. International Journal of Clinical Case Studies & Reports, 2(1): 61-65.

Phongpisanu B. (2018). Main Steps of Doing Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 2(10): 000183. DOI: 10.23880/mjccs-16000183

Robbins, S. P. (1990). Organization theory: Structure, design and applications (3rd ed.).Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Slocum, J. W., & Hellriegel, D. (2011 a). Organizational behavior (13thed.). Mason, OH: South Western.

Weakliem, D, & Frenkel, S. (2006). Moral and workplace performance. Work and Occupations August, 33(3), 335-361.Yukl, G. A. (1994). Leadership in organizations. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30