A Study of Utilization Rates of Traditionl Birth Attendants in Phu Wiang District, Khon Kaen Province in Northeast Thailand -การศึกษาอัตราการใช้บริการจากผดุงครรภ์โบราณ ในอำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น

Authors

  • Lertchai Charerntayarak
  • Sophal OUM
  • Ma Yin Nu Ma Yin Nu
  • Stanley WAISI
  • Carmel DAVIES
  • Aroon Jirawatkul
  • Sastri Saowkontha

Abstract

          An assessment of the use of traditional birth attendants (TBAs) was undertaken in Phu Wiang District, Khon Kaen Province in Northeast Thailand from February to March 1992. The study was cross-sectional using a cluster random sampling scheme with probability proportionate to size. According to official accounts, the utilization of TBA services by mothers has declined, particularly in their role as birth attendants and advisers on family planning. This study set out to substantiate this as well as find out what their new role is now.   By questionnaire and in-depth interview it was ascertained that 31% of mothers with children under one had been delivered by TBAs. We found that overall, the utilization of TBAs by women before, during and after delivery were the following:

-          For antenatal care, 11.4% of mothers and pregnant women (n=248) received either services or advice from TBAs.

-          For postpartum care, 35% of mothers (n=183) were visited by TBAs. Overall, the proportion of all mothers in the sapled villages who received any advice or services from TBAs at any time last year, i.e. before, during, or after delivery was 79%.  The fact that one-third of all deliveries were attended by TBAs in this study provides evidence that the TBA’s influence and acceptability continues to exist amongst people in remote rural areas even when formal health services are made available.

            การศึกษาเพื่อประเมินการใช้ประโยชน์จากผดุงครรภ์โบราณในอำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางโดยการสุ่มแบบกลุ่มร่วมกับการใช้สัดส่วนของพื้นที่ จากข้อมูลที่เป็นทางการใช้ประโยชน์จากผดุงครรภ์โบราณนั้นลดลงโดยเฉพาะบาบาทหน้าที่การทำคลอดและแนะนำเกี่ยวกับการวางแผนครอบครัว การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ศึกษาถึงจำนวนและบทบาทหน้าที่ที่ของผดุงครรภ์ในปัจจุบัน การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์อย่างละเอียดซึ่งผลการศึกษาพบว่า 31% ของมารดาเด็กที่อายุตำกว่า 1 ปีในขณะนั้น ทำการคลอดโดยผดุงครรภ์โบราณ ซึงในรายละเอียดผดุงครรภ์โบราณยังได้แนะนำดูแลหญิงมีครรภ์ก่อนคลอดถึง 11.4% ของมารดาและหญิงมีครรภ์ (n=248) และ 35% ของมารดา (n= 183) ที่ผดุงครรภ์โบราณได้ไปดูแลเยี่ยมเยียนหลังคลอดด้วย โดยสรุปสัดส่วนของมารดาทั้งหมดในหมู่บ้านตัวอย่างที่ซึ่งได้รับการบริการและดูแลจากผดุงครรภ์โบราณใน 1 ปีที่ศึกษาคือ ระยะก่อน ระหว่างและหลังคลอดมีประมาณ 49% ในความเป็นจริงมี 1 ใน 3 ของการคลอดทั้งหมดในการศึกษาที่พบว่าทำคลอดโดยผดุงครรภ์โบราณยังมีประโยชน์และยังเป็นที่ยอมรับเชื่อถือของประชาชนโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท ถึงแม้ว่าจะมีการจัดหาการบริการทางสาธารณสุขด้วยแล้ว

Downloads

Download data is not yet available.

Published

2019-03-31

How to Cite

Charerntayarak, L., OUM, S., Ma Yin Nu, M. . Y. . N., WAISI, S., DAVIES, C., Jirawatkul, A., & Saowkontha, S. (2019). A Study of Utilization Rates of Traditionl Birth Attendants in Phu Wiang District, Khon Kaen Province in Northeast Thailand -การศึกษาอัตราการใช้บริการจากผดุงครรภ์โบราณ ในอำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น. Journal of Health Science of Thailand, 2(3), 209–221. Retrieved from https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/6175

Issue

Section

Original Article (นิพนธ์ต้นฉบับ)