The การตรวจสอบเชิงคุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติในชุมชนรอบมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

ผู้แต่ง

  • สุทธิดา หิรัญเอกทวี หลักสูตรเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์และห้องผ่าตัด คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • สุนิสา ชิตรัชตะ หลักสูตรเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์และห้องผ่าตัด คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • อารียา จิรธนานุวัฒน์ ภาควิชาเทคโนโลยีสุขภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

คำสำคัญ:

การตรวจสอบ, เครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติ, เครื่องมือแพทย์

บทคัดย่อ

การตรวจสอบเชิงคุณภาพมาตรฐานเครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติในชุมชนรอบมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ด้วยชุดทดสอบคุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิต (BP Sure) ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบเชิงคุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิตแบบอัตโนมัติ ได้แก่ (1) รายการเครื่องวัดความดันโลหิต (2) ค่าความผิดพลาดสูงสุดของการอ่านค่าความดันและค่าอัตราการรั่วของความดันในระบบ และ (3) ค่า ความผิดพลาดสูงสุดของการอ่านค่าความดันที่วัดเทียบค่าจริงกับคนในกรณีที่เข้าโหมดทดสอบไม่ได้ เก็บข้อมูลใน กลุ่มตัวอย่างเครื่องวัดความดันโลหิตแบบอัตโนมัติที่อยู่ภายในชุมชนท่าน้ำสามเสน ชุมชนราชผาทับทิมร่วมใจ และ ชุมชนมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช จำนวน 42 เครื่อง ผลการศึกษา พบว่า เครื่องวัดความดันโลหิตอัตโนมัติผ่าน มาตรฐานการประเมินค่าความผิดพลาดสูงสุดของการอ่านค่าความดัน และค่าอัตราการรั่วของความดันในระบบ จำนวน 25 เครื่อง (ร้อยละ 59.5) และไม่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 1 เครื่อง (ร้อยละ 2.5) เนื่องจากข้อต่อภายในตัว เครื่องชำรุด ส่วนอีก 16 เครื่อง ไม่สามารถเข้าสถานะการทดสอบได้ ข้อเสนอแนะ ควรมีการลงตรวจสอบเชิงคุณภาพ เครื่องวัดความดันโลหิตแบบอัตโนมัติในชุมชนอื่นๆ ทีอยู่รอบมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชเพิ่มขึ้นเพื่อให้เห็นมาตรฐาน ่ เครื่องวัดความดันโลหิตของประชาชนมากขึ้น เพิ่มการประเมินความพึงพอใจของผู้มารับบริการหลังการตรวจสอบ เชิงคุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิต รวมไปถึงสนับสนุนให้บุคลากรทางสาธารณสุขเข้ารับการอบรมการใช้ชุดทดสอบ คุณภาพเครื่องวัดความดันโลหิต เพื่อนำไปต่อยอดเป็นหน่วยบริการตรวจสอบเชิงคุณภาพในชุมชนต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. แผนยุทธศาสตร์การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพมหานคร: อิโมชั่นอาร์ต; 2560.

Rothwell PM, Howard SC, Dolan E, O’Brien E, Dobson JE, Dahlöf B, et al. Prognostic significance of vis¬it-to-visit variability, maximum systolic blood pressure, and episodic hypertension. Lancet 2010;375(9718):895- 905.

Webb AJ, Fischer U, Mehta Z, Rothwell PM. Effects of antihypertensive-drug class on interindividual variation in blood pressure and risk of stroke: a systematic review and meta-analysis. Lancet 2010;375(9718): 906-15.

Kearney PM, Whelton M, Reynolds K, Muntner P, Whelton PK, He J. Global burden of hypertension: anal¬ysis of worldwide data. Lancet 2005;365(9455):217- 23.

Aekplakorn W, Chariyalertsak S, Kessomboon P, As¬sanangkornchai S, Taneepanichskul S, Putwatana P. Prevalence of diabetes and relationship with socioeco¬nomic status in the Thai population: national health ex¬amination survey, 2004-2014. J Diabetes Res 2018; 2018:1654530.

Stergiou GS, Kario K, Kollias A, McManus RJ, Ohkubo T, Parati G, et al. Home blood pressure monitoring in the 21 stcentury.J Clin Hypertens (Greenwich) 2018; 20(7): 1116-21.

Breaux-Shropshire TL, Judd E, Vucovich LA, Shropshire TS, Singh S. Does home blood pressure monitoring im¬prove patient outcomes? A systematic review comparing home and ambulatory blood pressure monitoring on blood pressure control and patient outcomes. Integr Blood Press Control 2015;8:43-9.

STRIDE BP. Validated blood pressure monitors [Internet]. 2020 [cited 2022 Jan 20]. Available from: https:// www.stridebp.org/.

Picone DS, Deshpande RA, Schultz MG, Fonseca R, Campbell NRC, Delles C, et al. Nonvalidated home blood pressure devices dominate the online marketplace in Australia: major implications for cardiovascular risk management. Hypertension 2020;75(6):1593-99.

มติชนออนไลน์. สธ. สุ่มตรวจเครื่องวัดความดันโลหิตทั่วประเทศ พบตกมาตรฐาน19%ส่งผลต่อการวินิจฉัยแพทย์ [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ30 ม.ค. 2565]. แหล่ง ข้อมูล: https://www.matichon.co.th/news-monitor/ news_1743530.

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. กรมวิทย์ฯ พัฒนาเครื่องทดสอบเครื่องวัดความดันโลหิต BP Sure ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. และประชาชนตรวจสอบเครื่องวัดความดันโลหิตในพื้นที่ได้เอง [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ26 ม.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://www3.dmsc.moph.go.th/post-view/584

ECRI, Instructions of preventive maintenance, procedure No. 454-20160810 for sphygmomanometers (aneroid or mercury); 2016. Plymouth Meeting, PA: ECRI; 2016.

The international Organization of Legal Metrology. Non-invasuve automated sphygmomanometers [Internet]. 2002 [cited 2022 Apr 8]. Available from: https://www. oiml.org/en/files/pdf_r/r016-2-e02.pdf

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. การทดสอบเครื่องวัดความดันโลหิตด้วยแอปพลิเคชัน BP Sure [อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 26 ม.ค. 2565]. แหล่งข้อมูล: http://rmsc8.dmsc.moph.go.th/CMS/วิชาที่ 1.2 การทดสอบเครื่องวัดความดันโลหิต.pdf

รักหมอ เมดิคอล. มาตรฐานเครื่องวัดความดัน ควรเป็นแบบไหนดี เลือกซื้ออย่างไรดีให้ได้คุณภาพ วัดค่าได้แม่นยำ[อินเทอร์เน็ต]. 2564 [สืบค้นเมื่อ 27 มิ .ย. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://rakmor.com/standard-pressure-gauge/

ธีรเดช ภัทรวโรดม, เกศสุดา สืบสังข์, รามิล กาญจนสดุ้ง. การศึกษาค่าความผิดพลาดของเครื่องวัดความดันโลหิตแบบอิเล็กทรอนิกส์เปรียบเทียบกับเครื่องมือมาตรฐาน [อินเทอร์เน็ต]. 2557 [สืบค้นเมื่อ4 มิ .ย. 2565]. แหล่งข้อมูล: https://hss.moph.go.th/fileupload_doc/2015- 10-18-15646077.pdf

de Greeff A, Lorde I, Wilton A, Seed P, Coleman AJ, Shennan AH. Calibration accuracy of hospital-based non-invasive blood pressure measuring devices. J Hum Hypertens 2010;24(1):58-63.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-08-31

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ