การพัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังสัญญาณเตือนเข้าสู่ภาวะวิกฤตในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง โรงพยาบาลสงขลา

ผู้แต่ง

  • พนิดา จันทรัตน์ กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลา
  • เพ็ญแข รัตนพันธ์ กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลา
  • ภคินี ขุนเศรษฐ์ กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลา
  • ปรัชญานันท์ เที่ยงจรรยา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

รูปแบบการเฝ้าระวัง, สัญญาณเตือนเข้าสู่ภาวะวิกฤต, ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลลัพธ์รูปแบบการเฝ้ าระวังสัญญาณเตือนเข้าสู่ภาวะวิกฤต ในผู้ป่ วยที่มีความเสี่ยงสูงโรงพยาบาลสงขลา ประกอบด้วย 3 ระยะ คือ (1) ศึกษาสถานการณ์ โดยทบทวน เวชระเบียนผู้ป่ วยทรุด 10 แฟ้ ม สนทนากลุ่ม หัวหน้าหอผู้ป่ วย 15 คน พยาบาลวิชาชีพแกนนำ 20 คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (2) พัฒนารูปแบบการเฝ้ าระวังสัญญาณเตือนเข้าสู่ภาวะวิกฤต โดยนำผลจากระยะศึกษา สถานการณ์ร่วมกับการทบทวนวรรณกรรม ยกร่างสร้างแนวปฏิบัติ และ(3) ประเมินผลลัพธ์ของรูปแบบที่พัฒนา จากกลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ 150 คน และผู้ป่ วยที่มีความเสี่ยงสูงก่อนและหลังพัฒนา 200 คน วิเคราะห์ ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ independent t-test ผลการวิจัย ระยะที่ 1 ศึกษาสถานการณ์ พบว่า ไม่ใช้เครื่องมือเฝ้ าระวังสัญญาณเตือนเข้าสู่ภาวะวิกฤติ สมรรถนะการเฝ้ าระวังภาวะวิกฤตไม่ เพียงพอ รายงานแพทย์ล่าช้า ระยะที่ 2 รูปแบบฯ ประกอบด้วย (1) แนวปฏิบัติการเฝ้ าระวังสัญญาณเตือนเข้าสู่ภาวะ วิกฤต และ (2) แนวทางพัฒนาสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพในการเฝ้ าระวังสัญญาณเตือนเข้าสู่ภาวะวิกฤตแบบร่วมมือ ระยะที่ 3 ผลลัพธ์ของรูปแบบฯ ประกอบด้วย (1) ด้านผู้รับบริการพบว่า จำนวนอุบัติการณ์ทรุดอย่างไม่คาดคิดหลัง พัฒนาลดลงกว่าก่อนพัฒนา และด้านผู้ให้บริการ พบว่า คะแนนเฉลี่ยสมรรถนะการเฝ้ าระวังสัญญาณเตือนเข้าสู่ ภาวะวิกฤตหลังพัฒนาสูงกว่าก่อนพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01) และคะแนนการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ การเฝ้ าระวังสัญญาณเตือนเข้าสู่ภาวะวิกฤตอยู่ในระดับมาก (ร้อยละ 90.5) ควรนำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปขยายผลทั้ง ภายในและภายนอกองค์กร เพื่อเพิ่มสมรรถนะพยาบาลและความปลอดภัยผู้รับบริการ

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

World Health Organization. Towards eliminating avoidable harm in health care. [Internet]. 2021[cited 2022 December 5]. 108 p. Available from: https://www.who. int/publications/i/item/9789240032705

สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล. มาตรฐานโรงพยาบาล และบริการสุขภาพ ฉบับที่ 4. นนทบุรี: สถาบันรับรอง คุณภาพสถานพยาบาล; 2560.

Mathukia C, Fan WQ, Vadyak K, Biege C, Krishnamurthy M. Modified early warning system improves patient safety and clinical outcomes in an academic community hospital. J Community Hosp Intern Med Perspect. [Internet]. 2015 [cited 2022 Jan 3]; 5(2):1-6. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/ PMC4387337

กรรณิกา ศิริแสน. ประสิทธิผลของการใช้ระบบสัญญาณเตือน ในการพยาบาลผู้ป่ วยในหอผู้ป่ วยวิกฤติ โรงพยาบาลเอกชน แห่ งหนึ่ งในกรุงเทพมหานคร [วิทยานิ พนธ์]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพคริสเตียน; 2558. 102 หน้า.

Christensen D, Jensen NM, Maalae R, Rudolph SS, Belhage B, Perrild H. Nurse-administered early warning score system can be used for emergency department triage. Dan Med Bull. [Internet]. 2011[cited 2022 Jan 3];58(6):A4221. Available from: https://pubmed.ncbi. nlm.nih.gov/21651873

Wang AY, Fang CC, Chen SC, Tsai SH. Periarrest Modified Early Warning Score (MEWS) predicts the outcome of in- hospital cardiac arrest. J Formos Med Assoc. [Internet]. 2016[cited 2022 Jan 10] ; 115(2): 76-82. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih. gov/26723861

Nishijima I, Oyadomari S, Maedomari S, Toma R, Igei C, Kobata S, et al. Use of a modified early warning score system to reduce the rate of in-hospital cardiac arrest. JIntensive Care. [Internet]. 2016[cited 2022 Jan 3]; 4:12. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/ articles/PMC4748572

Jayasundera R, Mark Neilly M, O Smith T, Myint PK. Are Early Warning Scores Useful Predictors for Mortality and Morbidity in Hospitalised Acutely Unwell Older Patients? A Systematic Review. J Clin Med. [Internet]. 2018 [cited 2022 Jan 3] ; 7(10): 309. Available from: https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/30274205

นิตยาภรณ์ จันทร์นคร. ทัศนีย์ แดขุนทด. อุไรวรรณ ศรีดามา, ปิยนุช บุญกอง. การพัฒนารูปแบบการประเมินสัญญาณ เตือนภาวะวิกฤต สำหรับผู้ป่วยหนัก วัยผู้ใหญ่ โรงพยาบาล สกลนคร. วารสารกองการพยาบาล [อินเทอร์เนต]. 2563 [สืบค้นเมื่อ 2022 Jan 3];47:39-60. แหล่งข้อมูล: https:// he01.tci-thaijo.org/index.php/JND/article/ view/242610/164904

Kemmis S, McTaggart R. The action research planner. 3rd ed. Geelong, Australia: Deakin University Press; 1988.

สุรีย์พันธุ์ วรพงศธร. การวิจัยทางสุขศึกษา. กรุงเทพมหานคร: วิฑูรย์การปก; 2558.

Alexander G. Behavioural coaching – the GROW model. In: Passmore J, editor. Excellence in coaching: the industry guide. 2nd ed. London, Philadelphia: Kogan Page: 2006. p. 83–93.

วิตมอร์, จอห์น. โค้ชชิ่งกลยุทธ์การโค้ชเพื่อพิชิตเป้าหมาย อย่างมืออาชีพ [coaching for performance] (วุฒินันท์ ชุมภู, ผู้แปล). พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: ภาพพิมพ์; 2010.

ณัฐรดา เจริญสุข, สุรินทร์ ชุมแก้ว, เกษราภรณ์ สุตตาพงค์. กลยุทธ์การสอนงาน (coaching) เพื่อสร้างสมรรถนะที่เป็น เลิศในการปฏิบัติงาน. วารสารการจัดการ 2559;4(2):60- 6.

รุ่งอรุณ บุตรศรี, สมพันธ์ หิญชีระนันทน์, ปราณี มีหาญพงษ์. ผลของการนิเทศตามโมเดลการโค้ชแบบโกรว์ของผู้บริหาร การพยาบาลระดับต้นต่อความสามารถในการปฏิบัติงานของ พยาบาลวิชาชีพ. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 2563; 26(2):84-96.

ภคินี ขุนเศรษฐ์. การประเมินผลการสอนงานพยาบาลในการ ประเมินสัญญาณเตือนก่อนเข้าสู่ภาวะวิกฤตในมารดา ตกเลือดหลังคลอด แผนกสูติกรรม โรงพยาบาลสงขลา [สารนิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2563.

Smith GB. In-hospital cardiac arrest: is it time for an in-hospital ‘chain of prevention”? Resuscitation [Internet]. 2010 [cited 2022 Jan 3];81(9);1209–11. Available from: https://www.resuscitationjournal.com

ลดาวัลย์ ฤทธิ์ กล้า. ผลของการใช้แนวทางการประเมินผู้ป่วย โดยใช้สัญญาณเตือนภาวะวิกฤตต่อการย้ายเข้าหอผู้ป่วยวิกฤตโดยไม่ได้วางแผนและอัตราการเสียชีวิตในหอผู้ป่วย อายุรกรรม TUH Journal online. [อินเทอร์เนต].2016 [สืบค้น 2022 Jan 3];1(1):1-8.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-02-25

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ