ภาพทางรังสีวิทยานิ่วระบบทางเดินปัสสาวะ

ผู้แต่ง

  • ศุภวรรณ จิวะพงศ์ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  • กฤตินี เลิศทัศนีย์ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
  • จิตรานันต์ กงวงษ์ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

นิ่วในไต, ระบบทางเดินปัสสาวะ, รังสีวินิจฉัย

บทคัดย่อ

กลุ่มหินปูนที่เกิดขึ้นในระบบทางเดินปัสสาวะมีหลากหลายชนิด นิ่วคือรูปแบบที่พบได้บ่อยที่สุด นิ่วในทางเดิน ปัสสาวะเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และมีอัตราการเกิดเป็นซ้ำสูง นิ่วส่วนใหญ่มีส่วนประกอบของแคลเซียม ทำห้ สามารถมองเห็นเป็นลักษณะทึบรังสีในภาพเอกซเรย์ แม้ว่าอาจมีข้อจำกัดในการระบุลักษณะเฉพาะของนิ่วในทางเดินปัสสาวะ แต่ภาพทางรังสีสามารถจำแนกตำแหน่ง ลักษณะที่ปรากฏ และความสัมพันธ์กับสภาวะทางพยาธิวิทยา ต่างๆ ได้ ภาพทางรังสีของนิ่วได้พัฒนาขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และความเข้าใจในกระบวนการเกิดโรคดีขึ้น การตรวจทางรังสีวิทยาเป็นการตรวจทางเลือกสำหรับการประเมินโรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ โดยเฉพาะเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ไม่ได้จำกัดเพียงแค่ช่วยให้การวินิจฉัยทีถูกต้องในผู้ป่ วยโรคนิ่ว ยังเป็น ่ ประโยชน์ในการประเมินองค์ประกอบของนิ่ว เพื่อช่วยกำหนดแนวทางการรักษาที่เหมาะสม

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

Romero V, Akpinar H, Assimos DG. Kidney stones: a global picture of prevalence, incidence, and associated risk factors. Rev Urol 2010;12(2-3):86-96.

Liu Y, Chen Y, Liao B, Luo D, Wang K, Li H, et al. Epidemiology of urolithiasis in Asia. Asian J Urol 2018; 5(4):205-14.

Ziemba JB, Matlaga BR. Epidemiology and economics of nephrolithiasis. Investig Clin Urol 2017;58(5):299- 306.

วิศัลย์ อนุตระกูลชัย. โรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ [อินเทอร์เน็ต]. 2557 [สืบค้นเมื่อ 18 ธ.ค. 2564]. แหล่ง ข้อมูล: https://sriphat.med.cmu.ac.th/th/knowledge-385

Trinchieri A. Epidemiology of urolithiasis: an update. Clin Cases Miner Bone Metab 2008;5(2):101–6.

ศูนย์วิจัยสุขภาพกรุงเทพในเครือ บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน). การสลายนิ่ว[อินเทอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 12 ธ.ค. 2564]. แหล่งข้อมูล : https://www.bangkokhealth.com/articles/การสลายนิ่ว/

บรรณกิจ โลจนาภิวัฒน์. นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ. ใน: วรพจน์ ชุณหคล้าย, อภิรักษ์ สันติงามกุล, บรรณาธิการ. Common urologic problems for medical student. พิมพ์ ครั้งที่ 1. นนทบุรี: บียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์; 2558. หน้า 82-95.

ปิยะรัตน์ โตสุโขวงศ์, ฉัตรชัย ยาจันทร์ทา, ทศพล ศศิวงศ์ ภักดี, ชาญชัย บุญหล้า, เกรียง ตั้งสง่า. โรคนิ่วไต: พยาธิสรีระวิทยา การรักษา และการสร้างเสริมสุขภาพ. จุฬาลงกรณ์ เวชสาร 2549;50(2):103-23.

พลอยรัตน์ อุทัยพัฒนะศักดิ์ . ปฏิบัติตัวอย่างไร ห่างไกลการ เกิดนิ่วในทางเดินปัสสาวะ. วารสารควบคุมโรค 2562; 44(2):111-21.

สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ์. เอกสารแนบท้ายประกาศสำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและ การจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสำหรับการให้บริการ รักษาผู้ป่วยโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ พ.ศ. 2556. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 130, ตอนพิเศษ 180 ง (ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2556).

มนินทร์ อัศวจินตจิตร์. ปวดนิ่วเฉียบพลัน. ใน: เอกรินทร์ โชติกวาณิชย์, ธเนศ ไทยดำรงค์, ณัฐพงศ์ บิณษรี, เปรมสันต์ สังฆ์คุ้ม, บรรณาธิการ. Urological emergency ภาวะฉุกเฉิน ทางศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา. สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร. บียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์; 2563. หน้า 71-89.

โชคทวี เอื้อเจียรพันธ์, อุษณีย์ บุญศรีรัตน์. Interesting Case: Renal papillary necrosis. วารสารสมาคมโรคไต 2564; 27(2):91-7.

Tzou DT, Usawachintachit M, Taguchi K, Chi T. Ultrasound use in urinary stones: adapting old technology for a modern-day disease. J Endourol 2017;31(S1): S89- S94.

Abdel-Gawad M, Kadasne RD, Elsobky E, Ali-El-Dein B, Monga M. A prospective comparative study of color doppler ultrasound with twinkling and noncontrast computerized tomography for the evaluation of acute renal colic. J Urol 2016;196(3):757-62.

Ulusan S, Koc Z, Tokmak N. Accuracy of sonography for detecting renal stone: comparison with CT. J Clin Ultrasound 2007;35(5):256-261.

Fulgham PF, Assimos DG, Pearle MS, Preminger GM. Clinical effectiveness protocols for imaging in the management of ureteral calculous disease: AUA technology assessment. J Urol 2013;189:1203–13.

Moore CL, Carpenter CR, Heilbrun ML, Klauer K, Krambeck AC, Moreno C, et al. Imaging in suspected renal colic: systematic review of the literature and multispecialty consensus. J Urol 2019;202(3):475-83.

Masch WR, Cronin KC, Sahani DV, Kambadakone A. Imaging in urolithiasis. Radiol Clin North Am 2017; 55(2):209-24.

ชมพูนุช ธงทอง. ความชุกของโรคนิ่วในท่อไตที่ตรวจด้วย เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ระบบทางเดินปัสสาวะ แบบไม่ ใช้สารทึบรังสี ในโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. วารสาร วิชาการแพทย์และสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 3 2564; 18(3):181-7.

สำเริง มาประชุม, วิมลรัตน์ หล่อนิมิตดี, ศาสตราวุธ ธรรมกิตติพันธ์. การวิเคราะห์ชนิดของนิ่วในไตโดยการใช้ dual energy computed tomography. วารสารรังสีวิทยาศิริราช 2018;5(1):62-72.

Rodger F, Roditi G, Aboumarzouk OM. Diagnostic accuracy of low and ultra-low dose CT for identification of urinary tract stones: a systematic review Urol Int 2018;100(4):375-85.

ชนากานต์ สุวานิช. ศึกษาปริมาณรังสีที่ผู้ป่วยได้รับจากการ ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ระบบทางเดินปัสสาวะแบบไม่ฉีด สารทึบรังสี ด้วยเทคนิคลดปริมาณรังสี เพื่อการวินิจฉัยนิ่วใน ระบบทางเดินปัสสาวะ. วารสารการแพทย์โรงพยาบาล ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ 2564;36(1):1-12.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-02-25

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

บทความปริทัศน์