การพัฒนารูปแบบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชั้นนำของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ปองพล วรปาณิ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย
  • ธีรยา วรปาณิ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย
  • ยุทธนา แยบคาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย

คำสำคัญ:

การพัฒนารูปแบบ, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชั้นนำ

บทคัดย่อ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดโดยมุ่งเน้น ให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขทีเป็นธรรม ครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้ นฟูสุขภาพทีมีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้มีการพัฒนาการบริการ สาธารณสุขให้มีคุณภาพและมีมาตรฐานสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องภายใต้การมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชั้นนำของประเทศไทย ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ การจัดการเป็นเลิศ สารสนเทศด้านสุขภาพเป็นเลิศ ทีมสหสาขาวิชาชีพเป็น เลิศ การบริการเป็นเลิศ การมีส่วนร่วมเป็นเลิศ นวัตกรรมเป็นเลิศ และการรับรองวิธีปฏิบัติเป็นเลิศ จะเป็นกลไกการ ขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทั่วทั้งองค์กรอย่างเป็นระบบเพื่อ ให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมีคุณภาพและมาตรฐาน ประชาชนเข้าถึงบริการได้ง่าย และได้รับการรักษาพยาบาล ทั้งเชิงรับและเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพต่อไป

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. บัญชี รายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2559. นนทบุรี: มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; 2562.

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. รายงานการศึกษา ประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณะด้านสุขภาพในอีก 15 ปี ข้างหน้า. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; 2564.

สำนักวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือแนวทางการจัดบริการห้องฉุกเฉินที่เหมาะสมกับระดับ ศักยภาพสถานพยาบาล. นนทบุรี: สามชัย; 2561.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ที่ 134, ตอนที่ 40 ก (ลงวันที่ 6 เมษายน 2560).

พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที 136, ตอนที่ 56 ก (ลงวันที่ 30 เมษายน ่ 2562).

สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ. คู่มือมือแนวทางการ พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต. ติดดาว) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2563.

สุจิตร คงจันทร์. การประเมินผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต. ติดดาว) จังหวัด สงขลา. วารสารวิชาการสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม 2563;4(8):148-66.

ณภัทร สิทธิศักดิ์ . การดำเนินงานการพัฒนาระบบสุขภาพ ปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 8 [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ 14 เม.ย. 2564]. แหล่งข้อมูล: https://r8way.moph.go.th/ r8way/cso.php

สำนักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข. สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 รอบที่ 2. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2562.

World Health Organization. Monitoring the building blocks of health systems: a handbook of indicators and their measurement strategies. Geneva: World Health Organization; 2010.

สำนักบริหารการสาธารณสุข. การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ (district health system: DHS) ฉบับประเทศไทย. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2557.

World Health Organization. The world health report 2008: primary health care now more than ever. Geneva: World Health Organization; 2008.

Bitton A, Veillard JH, Basu L, Ratcliffe HL, Schwarz D, Hirschhorn LR. The 5S-5M-5C schematic: transforming primary care inputs to outcomes in low-income and middle-income countries. BMJ Glob Health 2018; 3(3):e001020.

พิสิฐ โอ่งเจริญ. ถอดบทเรียน:การบริหารโครงการภาครัฐ (ฉบับทดลอง). กรุงเทพมหานคร: ทูเกเตอร์เอ็ดดูเทนเนอร์; 2560.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย. รายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. สุโขทัย: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย; 2563.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-02-25

วิธีการอ้างอิง