ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีภาวะซึมเศร้า โรงพยาบาลเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม

ผู้แต่ง

  • สุจิตรา ยะวร โรงพยาบาลเชียงยืน อำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม
  • ชยพล ยะวร สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี บ้านกระบาก กองสาธารณสุข องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม

คำสำคัญ:

เบาหวาน, ซึมเศร้า, การบำบัดโดยการแก้ปัญหา

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่ วย โรคเบาหวานชนิดที 2 ที ่ มีภาวะซึมเศร้า โรงพยาบาลเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่ม ่ โดยเปรียบเทียบคะแนนภาวะซึมเศร้าภายในกลุ่มก่อนทดลองและหลังทดลอง และเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและ กลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่ วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีภาวะซึมเศร้า จำนวน 62 ราย โดยกลุ่มทดลองได้รับ การบำบัดโดยการแก้ปัญหา กลุ่มควบคุมได้รับสุขภาพจิตศึกษา ประเมินผลโดยใช้แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของเบ็ค (Beck Depression Inventory 1A) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ด้วยค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยภาวะซึมเศร้า โดยใช้สถิติ t-test ผลการศึกษาพบว่า คะแนนเฉลี่ยการประเมิน ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่ วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีภาวะซึมเศร้า ภายในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการทดลอง ก่อนการ ทดลองสูงกว่าหลังการทดลอง แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนภายในกลุ่มควบคุม พบว่า ก่อนการ ทดลองและหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) และคะแนนเฉลี่ยการประเมินภาวะ ซึมเศร้าระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนการทดลอง พบว่า แตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ส่วนคะแนนเฉลี่ยการประเมินภาวะซึมเศร้าระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลอง พบว่า แตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

Wild S, Roglic G, Green A, Sicree R, King H. Global prevalence of diabetes: estimates for the year 2000 and projections for 2030. Diabetes care 2004;27(5):1047- 53.

กระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์ผู้ป่วยโรคเบาหวาน เนื่องในวันเบาหวานโลก [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [สืบค้นเมื่อ 10 ตค. 2566]. แหล่งข้อมูล: https://pr.moph.go.th/?url=pr/ detail/2/02/181256/.

วิชัย เอกพลากร. รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2559.

American Diabetes Association. Economic costs of diabetes in the US in 2012. Diabetes Care 2013;36(4) :1033-46.

สุภาวดี ศรีรัตนประพันธ์. ความชุกของภาวะซึมเศร้าและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเบาหวานที่มารักษา ในโรงพยาบาลละหานทราย อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์. วารสารการแพทย์โรงพยาบาล ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ 2018;33(3):249-64.

Rungreangkulkij S, Thavornpitak Y, Kittiwatanapaisan W, Kotnara I, Kaewjanta N. Prevalence and factors of depression among Type 2 diabetic patients. Journal of the Psychiatric Association of Thailand 2014;59(3):287- 98.

World Health Organization. Depressive disorder [Internet]. 2018 [cited 2022 Jun 12]. Available from: https:// www.who.int/newsroom/factsheets/detail/depression

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. ป่วยซึมเศร้าเหยื่อ สังคม ถูกปรักปรําคดีฆ่าตัวตาย [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ 10 มีค. 2562]. แหล่งข้อมูล: https://www. dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30118.

เกียรติภูมิ วงศ์รจิต. กรมสุขภาพจิต ห่วงวัยรุ่นเยาวชนไทย มีภาวะซึมเศร้า แนะคนรอบข้างรับฟังอย่างเข้าใจ [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ 16 มค. 2563]. แหล่ง ข้อมูล: http://www.jvkk.go.th:8080/web_jvkk_th/index.php/viewnew/form/detail_id/1963.

Stimpson N, Agrawal N, Lewis G. Randomised controlled trials investigating pharmacological and psychological interventions for treatment-refractory depression: systematic review. British Journal of Psychiatry 2002; 181(4):284-94.

Mental Health Department Ministry of Public Health. World Mental Health Day [Internet]. 2021 [cited 2021 Apr 02]. Available from: www.klb.dmh.go.th/modules. php?m=news&gr=op=detail& news_id-9.

Egede LE, Ellis C. Diabetes and depression: global perspectives. Diabetes Research and Clinical Practice 2010;87(3):302-12.

โรงพยาบาลเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม. รายงานผลการ ดำเนินงานตามตัวชี้วัดด้านสุขภาพ อำเภอเชียงยืน. มหาสารคาม: โรงพยาบาลเชียงยืน; 2563.

Rustad JK, Musselman DL, Nemeroff CB. The relationship of depression and diabetes: pathophysiological and treatment implications. Psychoneuroendocrinology 2011;36(9):1276-86.

วิชุตา บุษบงค์, นพพร โหวธีระกุล, นวรัตน์ สุวรรณผ่อง,เพชร รอดอารีย์, ดุสิต สุจิรารัตน์. บทบาทของแรงจูงใจใน ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้าการดูแลตนเองและการ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 ณ โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2014;44(1):4-16.

D’Zurilla TJ, Nezu AM, Maydeu-Olivares A. Social problem solving: theory and assessment. Washington DC: American Psychological Association; 2004.

D’Zurilla TJ, Nezu AM. Problem-solving therapy. Georgetown: Guilford Publications Returns; 2010.

Erdfelder E, Faul F, Buchner A. GPOWER: A general power analysis program. Behavior Research Methods, Instruments Computers 1996;28(1):1-11.

Hedges LV. Estimation of effect size from a series of independent experiments. Psychological Bulletin 1982; 92(2):490.

Beck AT, Steer RA, Ball R, Ranieri WF. Comparison of Beck Depression Inventories-IA and-II in psychiatric outpatients. Journal of Personality Assessment 1996; 67(3):588-97.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. แนวปฏิบัติทางคลินิก เพื่อการบำบัดทางสังคมจิตใจผู้ป่วยโรคซึมเศร้า สำหรับ พยาบาลจิตเวชในสถานบริการระดับตติยภูมิ. [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [ สืบค้นเมื่อ 20 มีค. 2563]. แหล่งข้อมูล: https:// www.thaidepression.com/www/58/cnpgtertiarycare.pdf.

Anderson CM, Hogarty GE, Reiss DJ. Family treatment of adult schizophrenic patients: a psycho-educational approach. Schizophrenia Bulletin 1980;6(3):490.

มุกดา ศรียงค์. แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของเบ็ค (Beck Depression Inventory IA [BDI-IA]) ฉบับภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2522.

ราตรี ทองยู, วรรณา คงสุริยะนาวิน, อทิตยาพร ชัยเกตุ- โอวยอง, ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์. ผลของกลุ่มบำบัดแบบแก้ไข ปัญหาต่ออาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2.วารสารสภาการพยาบาล 2012;26(3):78-91.

ธวัชชัย พละศักดิ์ , รังสิมันต์ สุนทรไชยา, รัชนีกร อุปเสน. ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้า ในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพ จิต 2017;31(1):60-74. 26. Abazarian E, Baboli MT, Abazarian E, Ghashghaei FE. The effect of problem solving and decision making skills on tendency to depression and anxiety in patients with type 2 diabetes. Advanced Biomedical Research 2015; 4:112-16.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-12-27

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ