อุปกรณ์ช่วยรักษาภาวะลำไส้กลืนกันโดยวิธีใช้ลม

ผู้แต่ง

  • บันดิษฐ ศรีธรรมมา กลุ่มงานรังสีวิทยา โรงพยาบาลมหาสารคาม

คำสำคัญ:

อุปกรณ์ช่วยรักษาภาวะลำไส้กลืนกัน, การรักษาภาวะลำไส้กลืนกัน, ภาวะลำไส้กลืนกัน

บทคัดย่อ

อุปกรณ์ช่วยรักษาภาวะลำไส้กลืนกัน โดยวิธีใช้ลมจัดทำเพื่อให้ได้อุปกรณ์ช่วยรักษาภาวะลำไส้กลืนกันโดยวิธี การใช้ลม ที่ใช้งานได้ง่ายและราคาถูก และเพื่อพัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจร่วมกับอัลตราซาวนด์ได้ เพื่อลดการ ใช้รังสีกับผู้ป่ วย ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ป่ วยจะเป็นเด็ก โดยมีการศึกษาจากงานวิจัย และความรู้เรื่องเกี่ยวกับการรักษาภาวะ ลำไส้กลืนกันโดยวิธีการใช้ลม (pneumatic reduction for intussusception) จัดหาอุปกรณ์ที่มีในโรงพยาบาล และ ท้องถิ่นพร้อมทั้งทำการศึกษาการทำงานของอุปกรณ์นั้น เพื่อทำการปรับปรุงอุปกรณ์ทีมีคือ เครื่องวัดความดันเพื่อใช้ทำ เป็นอุปกรณ์ช่วยรักษาภาวะลำไส้กลืนกันโดยวิธีการใช้ลม ผลการใช้งานเครื่องมือทีพัฒนาขึ้นที ่ โรงพยาบาลมหาสารคาม ่ ได้ผลในการรักษาเป็นที่น่าพอใจ โดยมีการใช้งานในผู้ป่วยจำนวน 2 ราย โดยรายแรกใช้การรักษาแบบลมเพียง อย่างเดียว ซึ่งใช้ความดันลมที่ 90 mmHg รายที่สองใช้ร่วมกับวิธีการใช้น้ำ (hydrostatic reduction) ซึ่งทำหลังจากที่ ใช้วิธีการใช้น้ำแล้วไม่สำเร็จ โดยใช้ความดันลมที่ 100 mmHg ผลการรักษาสำเร็จทั้ง 2 ราย โดยไม่ต้องใช้วิธีการ ผ่าตัด โดยสรุปแล้วอุปกรณ์ช่วยรักษาภาวะลำไส้กลืนกันโดยวิธีการใช้ลมมีโอกาสสำเร็จที่สูง ผู้ป่ วยไม่ได้รับรังสี และ ปลอดภัยจากการติดเชื้อเพราะไม่ได้ใช้แป้ งแบเรียมซัลเฟตในการตรวจรักษา และใช้ร่วมกับคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasound) ทำให้ผู้ป่ วยปลอดภัยจากการได้รับรังสีอีกด้วย ซึ่งเป็นเครื่องมือที่พัฒนาจากอุปกรณ์ที่ใช้งานในโรงพยาบาล ทำให้มีต้นทุนที่ต่ำ ใช้วัสดุอุปกรณ์ได้คุ้มค่า และมีคุณภาพที่ด

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

Brain Coley. Caffey’s pediatric diagnostic imaging. 12th ed. Philadelphia: Saunders; 2013.

Kuta AJ, Benator RM. Intussusceptions: hydrostatic pressure equivalents for barium and meglumin sodium diatrizonate. Radiology 1990;175:125-6.

Kritsaneepaiboon S, Sangkhathat S, Kanngum S. Pneumatic reduction of intussusception: factors affecting outcome in Thailand, Faculty of Medicine, Prince of Songkla Universiy, Hat Yai 90110, Thailand. Asian Biomedicine 2011;5(2);235-41.

Hassan OB, Frees SN, Ibrahim M. Ultrasound guide pneumatic reduction of intussusception in children – a case series. Int J Recent Sci Res 2015;6(5):4204-7.

Tang P, Law EK, Chu WC. Pneumatic reduction of paediatric intussusception: clinical experience and factors affecting outcome. Hong Kong J Radiol 2016;19:200–7.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-12-27

วิธีการอ้างอิง

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ