Mothers Rearing Behavior and Dental Caries Status of Preschool Children’s Primary Teeth in Tambon Wang Thong, Phitsanulok - พฤติกรรมการเลี้ยงดูของมารดากับ ภาวะโรคฟันน้ำนมผุในเด็กวัยก่อนเรียนตำบลวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
บทคัดย่อ
The purpose of this survey study was to examine the relationship between the caries in primary dentition of preschool children and mothers rearing behaviors, knowledge as well as socio-economic factors.
The sample was composed of 100 preschool children aged 2-6 years, accompanied by their mothers, living in Tambon Wang Thong Amphoe Wang Thong, Changwat Phitsanulok. Data were collected during 1-31 October 2007, analyzed and presented in terms of means, percentage and standard deviation. Statistical tests employed were t-test and Pearsonีs Product Moment Correlation coefficient at 0.05 level of significance.
The results revealed that 70.0 percent of these children had dental caries with a mean of decayed, missing and filled teeth (dmft) 4.41 teeth. Their mothers had moderate level of appropriate rearing behavior (59 to 90 from 108 marks) with an average score of 78.50.
It was found that mothers age, workplace and the knowledge of child rearing had no relationship with their children’s dental caries. Years of education had significantly reversed correlation to preschool children’s dental caries (p < 0.05). Regarding mothers rearing behaviors-feeding, sweet consumption, oral cleaning- it was found that dental caries in primary teeth of these preschool children was correlated with sweet consumption behavior and oral cleaning behavior by their mothers (p < 0.05). Among families socio-economic variables, only the families income per month significantly correlated with preschool children’s dental caries. It is not surprising that the children of highly educated mothers, high family income, low sweet consumption behavior, with good oral cleaning behaviors had good dental health.
Key words: rearing, dental caries disease, preschool children
การวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลี้ยงดูบุตรของมารดาที่เป็นสาเหตุของการเกิดฟันผุในเด็กวัยก่อนเรียนในเขตตำบลวังทอง อำเภอวังทอง พิษณุโลก ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กอายุ 2-6 ปีและมารดาที่อาศัยอยู่ในเขตตำบลวังทอง อำเภอวังทอง พิษณุโลก โดยการสัมภาษณ์พฤติกรรมการเลี้ยงดูของมารดา และการตรวจฟันเด็ก ใช้เวลาในการเก็บข้อมูล ตั้งแต่ 1 ถึง 31 ตุลาคม 2549 ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 100 ราย วิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ คือ การทดสอบค่าที (t-test) และค่า ัมประสิทธิ์ หสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
พบว่า ร้อยละ 70.0 ของเด็กที่ศึกษามีฟันผุ ส่วนใหญ่เป็นรอยผุที่ยังไม่ได้รับการรักษา มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด 4.41 ซี่ต่อคน การเลี้ยงดู มารดามีคะแนนพฤติกรรมการเลี้ยงดู อยู่ในระดับปานกลาง (มีค่าคะแนนตั้งแต่ 59 ถึง 90 จาก 108 คะแนน) โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 78.50 คะแนน
จากการวิเคราะห์ความ ัมพันธ์ระหว่าง ภาวะโรคฟันผุในฟันน้ำนม กับปัจจัยต่างๆ พบว่า อายุของมารดาสถานที่ประกอบอาชีพและความรู้ในการเลี้ยงดูบุตรของมารดาไม่มีความสัมพันธ์กับ ภาวะโรคฟันผุในฟันน้ำนม จำนวนปีที่ได้รับการศึกษาของมารดามีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงข้ามกับกับ ภาวะโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนพฤติกรรมการเลี้ยงดูบุตรของมารดาทั้ง 3 ด้าน คือการให้นม การบริโภคอาหารหวาน, และการทำความสะอาดช่องปากนั้น พบว่าการบริโภคอาหารหวานและพฤติกรรมการทำความ ะอาดช่องปากของบุตรมีความ ัมพันธ์กับ ภาวะโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างมีนัย ำคัญทาง ถิติ ำหรับ ถานะทางเศรษฐกิจและ สังคมของมารดาพบว่ามีเพียงรายได้ของครอบครัวเท่านั้นที่มีความสัมพันธ์กับ ภาวะโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างมีนัย ำคัญทาง ถิติ นั่นคือ เด็กที่มาจากครอบครัวที่มารดามีการศึกษาสูง, ครอบครัวมีรายได้สูง เด็กบริโภคอาหารหวานน้อย มารดามีพฤติกรรมการทำความ ะอาดช่องปากที่ดีแก่บุตร ภาวะโรคฟันผุในฟันน้ำนมจะน้อยลง
คำสำคัญ: การเลี้ยงดู, โรคฟันผุ, เด็กวัยก่อนเรียน