Consumer Knowledge, Attitudes and Behaviors in Changwat Sing Buri - ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้บริโภค จังหวัดสิงห์บุรี
บทคัดย่อ
The important role of Provincial Public Health Office, is developing the potential of consumer to the full extent. The objective of this survey research was to assess information on consumerีs knowledge attitude and behavior in order to develop relevant guidelines and policies. In all, 302 people were interviewed by health workers using questionnaires in all levels of the public health facilities, in January 2008.
The results showed that 31.00 percent of the subjects livied in urban area, 56.00 percent of the subjects were female, aged 37 years (SD = 12.6) on average and married (51.30%). The overall attitudes of consumers were not satisfied with consumer protection. In term of the knowledge of people in health consumer protection it was classified as at a good level with an average score of 88.32 (S.D.=3.2805). For the right behaviors of consumption of people, it was revealed that consumers had limited right behavior with score of 2.05 (56.00%) which required improvements.
Key words: behaviors, consumer, and health consumer protection
บทบาทที่สำคัญประการหนึ่งของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด คือ การพัฒนาศักยภาพประชาชนในฐานะผู้บริโภค จึงได้ทำการศึกษาวิจัยพฤติกรรมการบริโภค เพื่อนำข้อมูลที่ได้มากำหนดแนวทาง และนโยบายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ 302 ตัวอย่าง ด้วยการใช้แบบสอบถาม โดยใช้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในทุกสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับเป็นผู้อธิบายวิธีการบันทึกข้อมูล และรายละเอียดของแบบสอบถามให้ประชาชนที่ถูกสุ่มแบบบังเอิญ เป็นผู้กรอกข้อมูล ในช่วงเดือนมกราคม 2551
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่อยู่ในเขตเมือง ร้อยละ 31.00 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 56.00 โดยมีอายุเฉลี่ย 37 ปี (SD = 12.6) ถานภาพ มร ร้อยละ 51.30 มร แล้ว ผู้บริโภคมีทัศนคติในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่น่าพอใจ ส่วนในด้านความรู้ของกลุ่มตัวอย่างในด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข พบว่า อยู่ในเกณฑ์ดี มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 88.32 (SD = 3.2805 คะแนน) และพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มตัวอย่างที่ถูกต้อง พบว่าในภาพรวมประชาชนผู้บริโภคมีค่าคะแนนพฤติกรรมการปฏิบัติที่ถูกต้อง เท่ากับ 2.05 (56.00%) ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องปรับปรุงแก้ไข
คำสำคัญ: พฤติกรรม, ผู้บริโภค, การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข