Neonatal Tetanus Elimination-การกำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด
คำสำคัญ:
-บทคัดย่อ
Nonatal tetanus is amajor health problem affecting the rural communities of Thailand. The Office of Commuicable Disease Control Region 10, collaboration with the Center for Health Promotion Region 10 and the Provincial Chief Medical Offices of Payao and Chiangrai conducted a neonatal tetanus elimination project from October 1991 to September 1992. The project’s main strategy was to provide tetanus vaccination to women of child-bering age (14-45 years), in two high disease prevalence areas, in each of two provinces. Evaluation after the vaccination campaign found immunization coverage in Payao and Chiangrai to be 82.6%, respectively. Some problems exist which are specific to Chiangrai, such as, no antenatal care, for 10.7% of the pregnant women, resulting in 16.9% infant home deliveries and 14.3% deliveries being performed by a relative. Identifying and controlling all high risk factors is vital in preventing the occurrence of this disease.
โรคระบาดทะยักในทารกแรกเกิด ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในพื้นที่ชนบททั่วไปในประเทศไทย สำนักงานควบคุมโรคติดต่อเขต 10 ร่วมกับศูนย์สุขภาพที่10 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ได้จัดให้มีโครงการกำจัดโรคบาดทะยักในทารกแรกเกิด ระหว่าเดือนตุลาคม 2534 ถึงกันยายน 2535 โดยเน้นการใช้วัคซีนป้องกันโรคบาดทะยักในกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธุ์ (อายุ 14 45 ปี) ในพื้นที่ ที่มีรายงานโรคสูง จังหวัดละ 2 อำเภอ จากการประเมินผลหลังการดำเนินงาน 1 ปี พบว่าความครอบคลุมการับวัคซีนครบชุด ในพื้นที่ดำเนินการ ที่จังหวัดพะเยา ได้ร้อยละ 82.6 จังหวัดเชียงราย 67.0 แต่ที่จังหวัดเชียงรายยังมีปัญหาด้านอื่นๆมากกว่าจังหวัดพะเยา คือ ไม่มีการฝากครรภ์ ร้อยละ 10.7 คลอดที่บ้าน ร้อยละ 16.9 ทำคลอดโดยญาติ ร้อยละ 14.3 ใช้อุปกรณ์ที่ไม่สะอาดพอมาตัดสายสะดือ ร้อยละ 16.1 ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นปัจจัยเสี่ยงทีต่อการเกิดโรค