Evaluation of the Communicable Disease Control Programmes in the Mid Seventh Five-Year Plan (1992-1996) of the National Public Health Development Plan-การประเมินผลงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ในครึ่งแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2535-2539)
คำสำคัญ:
-บทคัดย่อ
The author has studied the implementation of the communicable disease control (CDC)programm under the Seventh Five-Year Plan of the National Public Health Development Plan (B.E.1992-1996 by using the Delphi Technique. A questionnaire was developed and sent to the CDC Department's senior experts and directors of Technical Divisions, Regional Offices and Regional Malaria Centers The collected data were analysed in comparison with the goals set at the end of the plans.
It was found that the implementation of most CDC programmes was conformable with the policies and strategies on integration of disease control activities in the national health and the primary health care systems under the responsibility of provincial health offices. The study also identified a need to strengthen manpower and infrastructure to be capable of controlling the diseases, and to increase coordination between concerned sections of the government with non-government organizations.
This study will be useful for revising the final phase of the 7th National Public Health Development Plan (B.E.1992-1996),and for planning the next national health plan (B.E.1997-2001).
ผู้ศึกษาได้ศึกษาวิจัยเชิงประเมินผลการดําเนินงานควบคุมโรคติดต่อตามแผนงานโครงการต่างๆ ในแผน พัฒนาการสาธารณสุขตามแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7 ระหว่างปี พ.ศ.2535 - 2539 โดยใช้เดลฟายน์เทคนิคจัดทําแบบสอบถามเชิงประเมินผลส่งให้ผู้เชี่ยวชาญพิเศษผู้อํานวยการกองในสายงานวิชาการ ผู้อํานวยการสํานักงานควบคุมโรคติดต่อเบต ผู้อํานวยการศูนย์มาลาเรียเบต ผู้อํานวยการโครงการ และผู้รับผิด ชอบโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ตอบแบบสอบถามเพื่อนํามาประมวลวิเคราะห์ พร้อมทั้งการ วิเคราะห์จากข้อมูลผลการดําเนินงานในปีที่ผ่านๆมา (พ.ศ. 2535 - 2537) และพิจารณาถึงเป้าหมายเมื่อสิ้นแผนฯ 7 (พ.ศ.2539) ด้วยจากการประเมินผลงานในครั้งนี้ทําให้ได้ทราบว่า การดําเนินงานควบคุมโรคติดต่อเกือบทุกงานดําเนินการ ตามนโยบาย และกลวิธีของการผสมผสานในระบบบริการสาธารณสุขและสาธารณสุขมูลฐาน โดยมีสํานักงาน สาธารณสุขจังหวัดเป็นผู้ดําเนินการภายใต้การสนับสนุนและประเมินผลของกองวิชาการ สํานักงานควบคุม โรคติดต่อเบต และศูนย์มาลาเรีย ซึ่งจากการประเมินผลทําให้ได้ทราบถึงปัญหาเร่งด่วนที่ต้องพิจารณา โดย เฉพาะการพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมรับสถานการณ์โรคติดต่อ และการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของกลุ่มโรคให้ เหมาะสมกับแนวทางการดําเนินงาน และให้มีการประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคเอกชนในการป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อให้มากขึ้น
ข้อคิดเห็นต่างๆที่ได้จากการศึกษานี้ จะเป็นประโยชน์ในการปรับแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 1 ใน ช่วงปลาย คือ พ.ศ. 2538-2539 และสามารถนําไปใช้ในการเตรียมวางแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 8 ต่อไป