ฤทธิ์ต้านเชื้อก่อสิว Staphylococcus epidermidis ด้วยแผ่นปิดสิวเซลลูโลสชีวภาพจากสารสกัดเปลือกมังคุด

ผู้แต่ง

  • สิรภพ นาคะวัจนะ สาขาวิชาชีววิทยาและวิทยาศาสตร์สุขภาพ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ นครปฐม
  • สิตานันท์ ศรีสุภาสิตานนท์ สาขาวิชาชีววิทยาและวิทยาศาสตร์สุขภาพ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ นครปฐม
  • อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
  • ประกิต สุขใย ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเกษตรอุตสาหกรรม วิทยาเขตบางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร
  • อรวรรณ ปิยะบุญ สาขาวิชาชีววิทยาและวิทยาศาสตร์สุขภาพ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ นครปฐม

คำสำคัญ:

แผ่นปิดสิวเซลลูโลสชีวภาพ, สารสกัดอย่างหยาบจากเปลือกมังคุด, เชื้อ Staphylococcus epidermidis

บทคัดย่อ

Staphylococcus epidermidis เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดสิวอักเสบ สารสกัดหยาบจากเปลือกมังคุดสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อดังกล่าวได้ จึงได้พัฒนาแผ่นปิดสิวเซลลูโลสชีวภาพจากสารสกัดเปลือกมังคุด วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบเปลือกมังคุดในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ S. epidermidis และพัฒนาแผ่นปิดสิวเซลลูโลสชีวภาพจากสารสกัดเปลือกมังคุดในการยับยั้งการเจริญเชื้อ S. epidermidis โดยการสกัดเปลือกมังคุดด้วยเอทานอลความเข้มข้น 95% จากนั้นสารสกัดหยาบเปลือกมังคุดถูกละลายด้วยสารละลาย dimethyl sulfoxide (DMSO) เพื่อทดสอบการยับยั้งเชื้อ S. epidermidis ด้วยวิธีpaper disc diffusion และนำมาหาค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญและฆ่าเชื้อ S. epidermidis ด้วยวิธีbroth dilution พบว่า สารสกัดหยาบเปลือกมังคุดสามารถยับยั้งการเจริญและฆ่าเชื้อ S. epidermidis ได้โดยค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญเชื้อ (MIC)และค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (MBC) เท่ากับ 51,200 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ซึ่งเป็นความเข้มข้นทีมีความเหมาะสมที่สุดในการพัฒนาเป็นแผ่นปิดสิวเซลลูโลสชีวภาพจากสารสกัดเปลือกมังคุด ต่อจากนั้นพัฒนาแผ่นปิดสิวเซลลูโลสชีวภาพจากสารสกัดเปลือกมังคุดนำมาทดสอบประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ S. epidermidis ด้วยวิธีpaper disc diffusion พบว่าแผ่นปิ ดสิวเซลลูโลสชีวภาพจากสารสกัดเปลือกมังคุดสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ S. epidermidis

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

Pathek R. Staphylococcus epidermidis in human skin microbiome associated with acne: a cause of disease or defense. Research Journal of Biotechnology 2013; 8(12):78-82.

อภัย ราษฎรวิจิตร. ยาปฏิชีวนะ (antibiotics) [อินเทอร์เน็ต].กรุงเทพมหานคร: คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล;2556 [สืบค้นเมื่อ 17 พ.ค. 2561]. แหล่งข้อมูล: http://haamor.com/th

อัษฎาวุธ หิรัญรัตน์, ปรีญานันท์ วงศ์สวัสดิ์, วรรณฤดี หิรัญรัตน์, พนิตา สุมานะตระกูล. การศึกษาฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของน้ำส้มควันไม้จากผลมังคุด. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ 2556;16(3):120-30.

Pratiwi L, Fudholi A, Martien R, Pramono S. Develop-ment of TLC and HPTLC method for determinationα-mangostin in mangosteen peels (Garcinia mangostanaL.,). International Journal of Pharmacognosy and Phy-tochemical Research 2017;9(3):297-302

อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ, อุไรวรรณ ดิลกคุณานันท์, ประภัสสร รักถาวร, สิริพร ศิริวรรณ, พจมาน พิศเพียงจันทร์. การสกัดและการออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ของสารสกัดจากเปลือกมังคุด. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44; วันที่ 30 มกราคม - 2 กุมภาพันธ์2549; สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร: 2549. หน้า 529-36.

Koh JJ, Qiu S, Zou H, Lakshminarayanan R, Li J, Zhou X, et al. Rapid bactericidal action of alpha- mangostin against MRSA as an outcome of membrane targeting. Biochimica et Biophysica Acta 2013;828(2):834-44.

Pothitirat W, Chomnawang MT, Gritsanapan W. Anti-acne-inducing bacterial activity of mangosteen fruit rind extracts. Medical Principles and Practice 2009; 19(4):281-6.

Wetchakun C, Puapermpoonsiri U, Sila-on W. Effect of alcohol and co-film former on the physical and mechan-ical properties. Isan J Pharm Sci 2016;3(11):25-31.

Saibuatong O, Phisalaphong M. Novo aloe vera–bacte-rial cellulose composite film from biosynthesis. Carbo-hydrate Polymers 2010;79(2):455–60.

Halib N, Amin MCIM, Ahmad I. Physicochemical prop-erties and characterizations of nata de coco from local food industries as a source of cellulose. Sains Malaysiana 2012;41(2):205-11.

นุศวดี พจนานุกิจ, สมใจ ขจรชีพพันธุ์งาม. เจลสมุนไพรสำหรับยับยั้งแบคทีเรียที่ทำให้เกิดสิว. วารสารวิทยาศาสตร์-ลาดกระบัง 2553;19(2):47-58.

Banjara RA, Jadhav SK, Bhoite SA. Antibacterial activ-ity of di-2-ethylaniline phosphate screened by paper disc diffusion method. Journal of Applied PharmaceuticalScience 2012,2(7):230-3.

Chomnawang MT, Surassmo S, Nukoolkarn VS, Grit-sanapan W. Antimicrobial effects of Thai medicinal plants against acne-inducing bacteria. Journal of Ethnopharma-cology 2005;101(1-3):330-3.

Koh JJ, Qiu S, Zou H, Lakshminarayanan R, Li J, Zhou X, et al. Rapid bactericidal action of alpha-mangostin against MRSA as an outcome of membrane targeting. Biochimica et Biophysica Acta 2013;828(2):834-44.

Supomo A, Apriliana A, Purnawati T, Risqi A. Formu-lation of antiacne cream dosage form containing mango-steen (Garcinia mangostana L.) pericarp ethanolic extract.Indonesian Journal of Pharmaceutical and Clinical Re-search 2018;1(1):37-44.

จุฬาลักษณ์ เขมาชีวะกุล. การผลิตแบคทีเรียเซลลูโลสสายพันธุ์ Acetobacter xylinumและการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม. การเกษตรราชภัฎ2559;15(2):25-33.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2020-08-28

วิธีการอ้างอิง

บทความที่มีผู้อ่านมากที่สุดจากผู้แต่งเรื่องนี้