ผลของโปรแกรมอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวานวัยทำงานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ : กรณีศึกษา อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์

ผู้แต่ง

  • Sukuma Thosuwan โรงพยาบาลหล่มสัก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ ประเทศไทย 67110

คำสำคัญ:

โปรแกรมอาหาร, ผู้ป่วยโรคเบาหวานในวัยทำงาน, การควบคุมระดับน้ำตาล

บทคัดย่อ

บทนำ: โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพปัจจุบันทั่วโลกกำลังให้ความสำคัญอย่างมากเนื่องจากเป็นโรคที่ยังรักษาไม่หาย โดยเฉพาะโรคเบาหวานในวัยทำงานที่ควบคุมไม่ได้ ปัจจัยสำคัญเกี่ยวข้องกับการพฤติกรรมการควบคุมอาหาร........

วัตถุประสงค์

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการอาหารสำหรับผู้ป่วยเบาหวานวัยทำงานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ : กรณีศึกษาอำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ การวิจัยถูกดำเนินการใน 4 ขั้นตอน คือ (1)การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน และแนวทางการพัฒนาโปรแกรม (2)การสร้างและศึกษาคุณภาพโปรแกรม (3) การทดลองและศึกษาผลการใช้โปรแกรม (4) การศึกษาความพึงพอใจการใช้โปรแกรม

วิธีวิจัย: การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ……………………………และแบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติการทดสอบ (t-test Dependent Sample)

ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า 1) โปรแกรม…………………. มีองค์ประกอบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ เนื้อหา กระบวนการ และการวัดและประเมินผล 2) ผลการตรวจสอบคุณภาพของโปรแกรม โดยผู้ทรงคุณวุฒิพบว่า โปรแกรมที่พัฒนาขึ้น มีคุณภาพอยู่ในระดับดี 3) ผลสัมฤทธิ์ภายหลังจากดำเนินการ……………พบว่า ……………………….. 4) มีความพึงพอใจต่อโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น อยู่ในระดับมาก

อภิปรายและสรุปผลการวิจัย: จึงสามารถสรุปได้ว่า…………………………………………………….

คำสำคัญ: โปรแกรมอาหาร, ผู้ป่วยโรคเบาหวานในวัยทำงาน, การควบคุมระดับน้ำตาล

 

เอกสารอ้างอิง

โรงพยาบาลหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. (2566). ข้อมูลเวชระเบียนผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลหล่มสักสถิติผู้ป่วยนอกคลินิกเบาหวานเข้ารับการรักษา ปีงบประมาณ 2565-2566.

กฤตกร หมั่นสระเกษ, ณิชกานต์ วงษ์ประกอบ, รำไพ หมั่นสระเกษ, & สุกัญญา จุลละสุวรรณ. (2020). กลยุทธ์ การส่งเสริมการจัดการตนเองของผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 26(2), 214-225.

นงนุช โอบะ, นวรัตน์ ชุติปัญญาภรณ์. (2022). ประสบการณ์การจัดการตนเองในการควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือดได้สำเร็จของผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, 30(1), 1-13.

ปวีณา อุดรไสว, วิลาวัณย์ ชมนิรัตน์. (2021). การพัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการตนเองในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลเบาหวานที่เท้า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาจารย์ จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 14(3), 97-110.

พนิดา รัตนศรี. (2023). ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองเพื่อชะลอไตเสื่อมต่อพฤติกรรมการจัดการตนเอง และผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำราญ. วารสารสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น, 4(2), 209-209.

พัฒนพร อุ่นวงศ์, & มยุรี บุญศักดิ์. (2023). ผลของการเข้าค่ายเบาหวานแบบค้างแรมโรงพยาบาลเขื่องใน ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับนํ้าตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารสาธารณสุขและสุขภาพศึกษา, 3(1), 44-62.

ภรณ์ทิพย์ ศรีสุข, นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์. (2022). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองเพื่อควบคุมอาหาร คาร์โบไฮเดรต และส่งเสริมการออกกำลังกายผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 30(1), 12-23.

วิชัย เอกพลากร. (บรรณาธิการ). (2564). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 2562 - 2563. นนทบุรี: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.

ภรณ์ทิพย์ ศรีสุข, นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์. (2022). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองเพื่อควบคุมอาหาร คาร์โบไฮเดรต และส่งเสริมการออกกำลังกายผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี, 30(1), 12-23.

ศิริมา ลีละวงศ์, ธีรพร สถิรอังกูร และยุรีพรรณ วณิชโยบล. (2564). รูปแบบการพยาบาลในการสร้างเสริมการจัดการสุขภาพของตนเองของกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องการดูแลแบบระยะยาวและผู้ดูแล. ห้างหุ้นส่วนจำกัด เทพเพ็ญวานิสย์.

สุพัตรา ศรีวณิชชาการ, lสมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์, วิชุดา จิรพรเจริญ, ปิยฉัตร ตระกูลวงษ์ และ อรวรรณ ขวัญศรี. (2560). การดูแลตนเองเพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในบริบทไทย (Self-Management Support for NCDs: Thai Style). บริษัท สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสชิ่ง จำกัด.

Arnold, S. V., Khunti, K., Tang, F., Chen, H., Cid-Ruzafa, J., Cooper, A., et al. (2022). Incidence rates and predictors of microvascular and macrovascular complications in patients with type 2 diabetes: Results from the longitudinal global discover study. American Heart Journal, 243, 232-239.

Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise of control. W H Freeman/Times Books/ Henry Holt & Co.

Bandura, A. (1977). Self-efficacy: toward a unifying theory of behavioral change. Psychological review, 84(2), 191.

Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action. Englewood Cliffs, NJ, 1986(23-28), 2.

Boonda, P. (2021). Main Steps of Doing Research and Development in Public Health: An Observational Study. New Frontiers in Medicine and Medical Research, Vol. 14, 80–86. https://doi.org/10.9734/bpi/nfmmr/v14/4289F

Boonda, P. (2021). Techniques of Writing Chapter 1 for Research and Development in Public Health. New Frontiers in Medicine and Medical Research Vol. 14, 65–79. https://doi.org/10.9734/bpi/nfmmr/v14/3839F

Boonda, P. (2020). A Technique of Modeling in Public Health Research and Development. World Journal of Public Health, 5(4), 89-98. doi: 10.11648/j.wjph.20200504.13

Boonda, P. (2019). Techniques for Writing Chapter I of Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 3(4): 000222. DOI: 10.23880/mjccs-16000222.

Boonda, P. (2019). Process of Research and Development in Public Health. International Journal of Clinical Case Studies & Reports, 2(1), 61-65.

Boonda, P. (2018). Main Steps of Doing Research and Development in Public Health. Med J Clin Trials Case Stud, 2(10): 000183. DOI: 10.23880/mjccs-16000183.

Boonda, P. Preedeekul, A. (2016). Developing A Training Program to Develop Competency of Regional Operating Officer (ROO) in the Virtual Service Provider Office (VSPO) in Thailand. WIT Transactions on Ecology and the Environment, 210, 393-404, Wessex Institute, UK., DOI:10.2495/SDP160331.

Boonda, P. (2021). The Technique of Processes Matrixing to Summarize from the Literature Review. Copyrights: Request for information No.398059, Issued on: Nov. 8, 2021.

Boonda, P. (2021). The Technique of Phrases Matrixing to Summarize from the Literature Review. Copyrights: Request for information No.398060, Issued on: Nov. 8, 2021.

Boonda, P. (2021). Teaching in doing a research and development theme of public health administration subject. Copyrights: Request for information No.398061, Issued on: Oct. 18, 2021.

Creer, T. L. (2000). Self-management of chronic illness. In Handbook of self-regulation. 601-629. Academic Press.

International Diabetes Federation. (2021). IDF Diabetes Atlas - 10th edition. Retrieved May 30, 2023, from https://diabetesatlas.org

Laoprasit, P. (2023). The Development of Diabetes Mellitus Patients Care Model That Uncontrolled Blood Sugar in Community Hospital and Network. Region 11 Medical Journal, 37(1), 32–48. Retrieved from https://he02.tci thaijo.org/index.php/Reg11MedJ/article/view/257487-

Papatheodorou, K., Banach, M., Bekiari, E., Rizzo, M., & Edmonds, M. (2018). Complications of Diabetes 2017. Journal of Diabetes Research, 2018, 3086167.

Phinyo, P., Phinyo, K., Mahem, K., Supapinij, C., & Paungtai, P. (2021). Development of Self-management Guidelines for Patients with Type 2 Diabetes in the Semi-urban, Semi-rural Community. Songklanagarind Journal of Nursing, 41(4), 100-114.

Pradubpoth, K., & Khanom, S. (2022). The Effects of Health Behavior Modification Program with Self-management Concepts in Adults with Metabolic Syndrome in Phromkhiri district, Nakhon Si Thammarat province. Thammasat University Hospital Journal Online, 7(3), 58-67.

Potisat, S., Krairittichai, U., Jongsareejit, A., Sattaputh, C., & Arunratanachote, W. (2013). A 4-year prospective study on long-term complications of type 2 diabetic patients: the Thai DMS diabetes complications (DD.Comp.) project. Journal of the medical association of Thailand, 96(6), 637-643.

Safiri, S., Nejadghaderi, S. A., Karamzad, N., Kaufman, J. S., Carson-Chahhoud, K., Bragazzi, N. L., et al. (2022). Global, Regional and National Burden of Cancers Attributable to High Fasting Plasma Glucose in 204 Countries and Territories, 1990-2019. Frontiers in Endocrinology, 13, 879890.

Sanbudda, T., Luenam, S., Lardnongkhun, S., & Dana, K. (2023). The Effect of Self-Management Program to Glycemic Control in Type 2 Diabetes Patients: COVID-19 Relief Measures. Academic Journal of Health and Environment. 1(1), 531-531.

Tansakul S. (2007). Behavioral Science Theory: Operational guidelines in health education and health promotion. Health educationjournal, 30, 1-15.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2024-07-28 — อัปเดตเมื่อ 2024-07-28